คุยกันรู้เรื่องเข้าใจเหมือนกัน เพราะรากภาษา เรามาใกล้ๆกัน รีบเร่งพูดกันสื่อสารกันเข้าใจนะ ใกล้เป็นประชาคมใหญ่ของโลกกันแล้ว รวมกันเป็นหนึ่งประชาคมอาเซียน รวมข้อต่อรองเจรจาเป็นหนึ่งเดียว และมีผลประดยชน์ทาง เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ร่วมกัน Welcome ASEAN..
ภาษาราชการของประเทศเวียดนาม จัดอยู่ในภาษากลุ่มออสโตรเอเชียติก ตระกูลเดียวกับภาษามอญ-เขมร ถ้าน้องๆ อยากไปเที่ยวหรือเรียนต่อที่เวียดนาม ฝึกภาษาเวียดนามไว้บ้างก็ดีค่ะ ไม่อย่างนั้นจะสื่อสารกันค่อนข้างลำบากเพราะคนเวียดนามส่วนน้อยที่ใช้ภาษาอังกฤษคล่อง อีกเหตุผลนึงที่ภาษานี้น่าเรียน เพราะในยุคหลังๆ ทั้งเรื่องการศึกษา เทคโนโลยีของเวียดนามเขาพัฒนาได้ไวมาก ไม่แน่ว่าในอนาคตต่อๆ ไปประเทศเวียดนามอาจเจริญล้ำหน้าและเป็นแหล่งที่น่าเข้าไปลงทุนในระดับทวีปก็ได้
ภาษาเวียดนาม ได้รับอิทธิพลจากจีนค่อนข้างมากเพราะเคยอยู่ภายใต้การปกครองของจีน ทำให้มีคำศัพท์ที่ยืมจากภาษาจีนและแต่ก่อนก็ใช้อักษรจีนเขียนอีกด้วย หลังจากนั้นในยุคอาณานิคม เวียดนามได้รับอิทธิพลจากภาษาฝรั่งเศส จึงมีการพัฒนามาเป็นตัวอักษรแบบโรมันอย่างทุกวันนี้ นอกจากนี้ความพิเศษของภาษาเวียดนามอีกอย่างคือ เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ (คล้ายกับภาษาไทย) ในภาษาพูด ชาวเวียดนามแต่ละภูมิภาคออกเสียงวรรณยุกต์ต่างกันด้วยคือ ภาคเหนือจะออกครบทั้ง 6 เสียง แต่ภาคใต้ออกเพียง 5 เสียงและยังมีสำเนียงท้องถิ่นอีกด้วย ฟังแค่นี้ก็น่าสนสนุกแล้วใช่มั้ยล่ะคะ
ส่วนเรื่องไวยากรณ์ ภาษานี้จะเรียงลำดับประโยคเป็น ประธาน กริยา กรรม คล้ายกับภาษาไทย เน้นการเรียงลำดับคำและโครงสร้างประโยคมากกว่าการผันคำ หมายความว่าถ้าจะสร้างประโยคใหม่จะใช้วิธีเพิ่มคำ ไม่ต้องผัน Tense อย่างภาษาอังกฤษ
ลองมาดูคำศัพท์ง่ายๆ ของ ภาษาอาเซียนสำคัญ ภาษาเวียดนามกัน
ภาษาอาเซียนสำคัญ ภาษามลายู
ภาษามลายู เป็นภาษาที่หลายประเทศในอาเซียนใช้เป็นภาษาราชการ เช่น ประเทศมาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย บางส่วนของประเทศสิงคโปร์ หรือแม้แต่ทางภาคใต้ของไทยก็มีการใช้ภาษานี้ด้วย ซึ่งแต่ละพื้นที่รับภาษาไปใช้แล้วก็มีการปรับเปลี่ยนหรือเรียกชื่อให้แตกต่างกันไป เช่น ภาษามลายูในมาเลเซียจะเรียกว่าภาษามาเลยเซีย บรูไนเรียกว่าภาษามลายู เป็นต้น
ภาษามลายูเป็นภาษากลุ่มออสโตรนีเชียน จัดอยู่ในรูปภาษาคำติดต่อ ถ้าต้องการสร้างคำใหม่ สามารถสร้างได้ 3 วิธี คือ
การลงวิภัติปัจจัยที่รากศัพท์ เนื่องจากภาษามลายูเป็นภาษาที่มีรากคำ การสร้างคำใหม่จึงอาศัยเติมคำข้างหน้า เติมกลางคำ หรือเติมหลังคำ
สร้างคำประสม
ซ้ำคำ
สำหรับตัวอักษรนั้น ภาษามลายูใช้ตัวอักษร 2 ชนิด คือ อักษรยาวี กับตัวอักษรรูมี(ตัวอักษรโรมัน) แต่ในปัจจุบันอักษรรูมีเป็นที่นิยมกว่ามาก เพราะเขียนง่าย เนื่องจากเป็นตัวอักษรโรมันหรือภาษาอังกฤษนั่นเอง ทำให้ไม่ต้องเสียเวลาเรียนตัวอักษรใหม่เหมือนการเรียนภาษาอื่นๆ
สร้างคำประสม
ซ้ำคำ
สำหรับตัวอักษรนั้น ภาษามลายูใช้ตัวอักษร 2 ชนิด คือ อักษรยาวี กับตัวอักษรรูมี(ตัวอักษรโรมัน) แต่ในปัจจุบันอักษรรูมีเป็นที่นิยมกว่ามาก เพราะเขียนง่าย เนื่องจากเป็นตัวอักษรโรมันหรือภาษาอังกฤษนั่นเอง ทำให้ไม่ต้องเสียเวลาเรียนตัวอักษรใหม่เหมือนการเรียนภาษาอื่นๆ
ลองมาดูคำศัพท์ง่ายๆ ใน ภาษาอาเซียนสำคัญ ภาษามลายูกัน
ภาษาอาเซียนสำคัญ ภาษาอินโดนีเซีย
ภาษาอินโดนีเซียมีรากฐานมาจากภาษามลายูเหมือนภาษามาเลเซีย ถ้าน้องๆ รู้ภาษาใดภาษาหนึ่งก็สามารถไปใช้สื่อสารในอีกประเทศหนึ่งได้ เพราะภาษาใกล้เคียงกัน หากไม่เข้าใจบางคำศัพท์ก็ยังพอเดาความหมายได้ ซึ่งตรงนี้ก็มีคนถามกันเยอะทีเดียวว่าแล้วอย่างนี้ควรเรียนภาษาอะไรดีระหว่าง “ภาษาอินโดนีเซีย” กับ “ภาษามาเลย์”
สองภาษานี้แม้จะสื่อสารกันเข้าใจ แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าทุกอย่างจะเหมือนกันทั้งหมดนะคะ สิ่งที่ต่างกันจะเป็นเรื่องของสำเนียงและคำศัพท์บางคำ ทั้งนี้ภาษาอินโดนีเซียมีคำยืมที่มาจากภาษาต่างๆ อีกจำนวนมาก เช่น ภาษาดัตซ์ ภาษาโปรตุเกส ภาษาบาลี สันสกฤต ฯลฯ แต่จะออกเสียงยากกว่าภาษามาเลย์ และสิ่งที่ได้เปรียบกว่าของภาษาอินโดนีเซียคือ เป็นภาษาที่มีคนใช้มากที่สุดในอาเซียนราว 200 กว่าล้านคนค่ะ ดังนั้นถ้าน้องๆ อยากเรียนภาษาที่ใช้เพื่อสื่อสารกับคนในอาเซียนได้มากที่สุด ภาษาอินโดนีเซียตอบโจทย์ได้มากที่สุด (ใช้สื่อสารได้ทั้งประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ บรูไน)
ลองมาดูคำศัพท์ง่ายๆ ใน ภาษาอาเซียนสำคัญ ภาษาอินโดนีเซียกัน
แถมอีกนิดด้วย คำศัพท์ตัวเลข 0-10 จาก 3 ภาษานี้
คำศัพท์พื้นฐานเรื่องตัวเลขในภาษาอินโดนีเซียกับภาษามลายูแทบจะเหมือนกัน 100% เลยนะเนี่ย เป็นยังไงบ้างคะน้องๆ เริ่มสนใจภาษาในอาเซียนบ้างหรือยัง? เดาเอาว่าเริ่มต้นคงไม่ยากเพราะใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษ^^ ถ้ามีเวลาก็จะแวะไปหาหนังสืออ่านเพิ่มบ้างแล้ว
นอกจากภาษาเวียดนาม ภาษามลายู และภาษาอินโดนีเซียแล้ว อาเซียนของเรายังมีอีกหลายภาษาเลยนะคะ เช่น ภาษาเขมร ภาษาลาว ภาษาพม่า ภาษาตากาล็อก(ฟิลิปปินส์) ไว้มีโอกาสก็ลองศึกษาภาษาเพื่อนบ้านดูบ้างนะ หรือถ้าน้องๆ คนไหนที่เรียนภาษาอาเซียนอยู่ก่อนแล้วลองแนะนำเพื่อนๆ หน่อยว่าภาษาไหนง่าย ภาษาไหนยาก เชื่อว่ามีเพื่อนๆ รอเก็บข้อมูลอยู่เพียบ
ภาษาอาเซียน
ภาษาราชการของประเทศเวียดนาม จัดอยู่ในภาษากลุ่มออสโตรเอเชียติก ตระกูลเดียวกับภาษามอญ-เขมร ถ้าน้องๆ อยากไปเที่ยวหรือเรียนต่อที่เวียดนาม ฝึกภาษาเวียดนามไว้บ้างก็ดีค่ะ ไม่อย่างนั้นจะสื่อสารกันค่อนข้างลำบากเพราะคนเวียดนามส่วนน้อยที่ใช้ภาษาอังกฤษคล่อง อีกเหตุผลนึงที่ภาษานี้น่าเรียน เพราะในยุคหลังๆ ทั้งเรื่องการศึกษา เทคโนโลยีของเวียดนามเขาพัฒนาได้ไวมาก ไม่แน่ว่าในอนาคตต่อๆ ไปประเทศเวียดนามอาจเจริญล้ำหน้าและเป็นแหล่งที่น่าเข้าไปลงทุนในระดับทวีปก็ได้
ภาษาเวียดนาม ได้รับอิทธิพลจากจีนค่อนข้างมากเพราะเคยอยู่ภายใต้การปกครองของจีน ทำให้มีคำศัพท์ที่ยืมจากภาษาจีนและแต่ก่อนก็ใช้อักษรจีนเขียนอีกด้วย หลังจากนั้นในยุคอาณานิคม เวียดนามได้รับอิทธิพลจากภาษาฝรั่งเศส จึงมีการพัฒนามาเป็นตัวอักษรแบบโรมันอย่างทุกวันนี้ นอกจากนี้ความพิเศษของภาษาเวียดนามอีกอย่างคือ เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ (คล้ายกับภาษาไทย) ในภาษาพูด ชาวเวียดนามแต่ละภูมิภาคออกเสียงวรรณยุกต์ต่างกันด้วยคือ ภาคเหนือจะออกครบทั้ง 6 เสียง แต่ภาคใต้ออกเพียง 5 เสียงและยังมีสำเนียงท้องถิ่นอีกด้วย ฟังแค่นี้ก็น่าสนสนุกแล้วใช่มั้ยล่ะคะ
ส่วนเรื่องไวยากรณ์ ภาษานี้จะเรียงลำดับประโยคเป็น ประธาน กริยา กรรม คล้ายกับภาษาไทย เน้นการเรียงลำดับคำและโครงสร้างประโยคมากกว่าการผันคำ หมายความว่าถ้าจะสร้างประโยคใหม่จะใช้วิธีเพิ่มคำ ไม่ต้องผัน Tense อย่างภาษาอังกฤษ
ลองมาดูคำศัพท์ง่ายๆ ของ ภาษาอาเซียนสำคัญ ภาษาเวียดนามกัน
ภาษาอาเซียนสำคัญ ภาษามลายู
ภาษามลายู เป็นภาษาที่หลายประเทศในอาเซียนใช้เป็นภาษาราชการ เช่น ประเทศมาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย บางส่วนของประเทศสิงคโปร์ หรือแม้แต่ทางภาคใต้ของไทยก็มีการใช้ภาษานี้ด้วย ซึ่งแต่ละพื้นที่รับภาษาไปใช้แล้วก็มีการปรับเปลี่ยนหรือเรียกชื่อให้แตกต่างกันไป เช่น ภาษามลายูในมาเลเซียจะเรียกว่าภาษามาเลยเซีย บรูไนเรียกว่าภาษามลายู เป็นต้น
ภาษามลายูเป็นภาษากลุ่มออสโตรนีเชียน จัดอยู่ในรูปภาษาคำติดต่อ ถ้าต้องการสร้างคำใหม่ สามารถสร้างได้ 3 วิธี คือ
การลงวิภัติปัจจัยที่รากศัพท์ เนื่องจากภาษามลายูเป็นภาษาที่มีรากคำ การสร้างคำใหม่จึงอาศัยเติมคำข้างหน้า เติมกลางคำ หรือเติมหลังคำ
สร้างคำประสม
ซ้ำคำ
สำหรับตัวอักษรนั้น ภาษามลายูใช้ตัวอักษร 2 ชนิด คือ อักษรยาวี กับตัวอักษรรูมี(ตัวอักษรโรมัน) แต่ในปัจจุบันอักษรรูมีเป็นที่นิยมกว่ามาก เพราะเขียนง่าย เนื่องจากเป็นตัวอักษรโรมันหรือภาษาอังกฤษนั่นเอง ทำให้ไม่ต้องเสียเวลาเรียนตัวอักษรใหม่เหมือนการเรียนภาษาอื่นๆ
สร้างคำประสม
ซ้ำคำ
สำหรับตัวอักษรนั้น ภาษามลายูใช้ตัวอักษร 2 ชนิด คือ อักษรยาวี กับตัวอักษรรูมี(ตัวอักษรโรมัน) แต่ในปัจจุบันอักษรรูมีเป็นที่นิยมกว่ามาก เพราะเขียนง่าย เนื่องจากเป็นตัวอักษรโรมันหรือภาษาอังกฤษนั่นเอง ทำให้ไม่ต้องเสียเวลาเรียนตัวอักษรใหม่เหมือนการเรียนภาษาอื่นๆ
ลองมาดูคำศัพท์ง่ายๆ ใน ภาษาอาเซียนสำคัญ ภาษามลายูกัน
ภาษาอาเซียนสำคัญ ภาษาอินโดนีเซีย
ภาษาอินโดนีเซียมีรากฐานมาจากภาษามลายูเหมือนภาษามาเลเซีย ถ้าน้องๆ รู้ภาษาใดภาษาหนึ่งก็สามารถไปใช้สื่อสารในอีกประเทศหนึ่งได้ เพราะภาษาใกล้เคียงกัน หากไม่เข้าใจบางคำศัพท์ก็ยังพอเดาความหมายได้ ซึ่งตรงนี้ก็มีคนถามกันเยอะทีเดียวว่าแล้วอย่างนี้ควรเรียนภาษาอะไรดีระหว่าง “ภาษาอินโดนีเซีย” กับ “ภาษามาเลย์”
สองภาษานี้แม้จะสื่อสารกันเข้าใจ แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าทุกอย่างจะเหมือนกันทั้งหมดนะคะ สิ่งที่ต่างกันจะเป็นเรื่องของสำเนียงและคำศัพท์บางคำ ทั้งนี้ภาษาอินโดนีเซียมีคำยืมที่มาจากภาษาต่างๆ อีกจำนวนมาก เช่น ภาษาดัตซ์ ภาษาโปรตุเกส ภาษาบาลี สันสกฤต ฯลฯ แต่จะออกเสียงยากกว่าภาษามาเลย์ และสิ่งที่ได้เปรียบกว่าของภาษาอินโดนีเซียคือ เป็นภาษาที่มีคนใช้มากที่สุดในอาเซียนราว 200 กว่าล้านคนค่ะ ดังนั้นถ้าน้องๆ อยากเรียนภาษาที่ใช้เพื่อสื่อสารกับคนในอาเซียนได้มากที่สุด ภาษาอินโดนีเซียตอบโจทย์ได้มากที่สุด (ใช้สื่อสารได้ทั้งประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ บรูไน)
ลองมาดูคำศัพท์ง่ายๆ ใน ภาษาอาเซียนสำคัญ ภาษาอินโดนีเซียกัน
แถมอีกนิดด้วย คำศัพท์ตัวเลข 0-10 จาก 3 ภาษานี้
คำศัพท์พื้นฐานเรื่องตัวเลขในภาษาอินโดนีเซียกับภาษามลายูแทบจะเหมือนกัน 100% เลยนะเนี่ย เป็นยังไงบ้างคะน้องๆ เริ่มสนใจภาษาในอาเซียนบ้างหรือยัง? เดาเอาว่าเริ่มต้นคงไม่ยากเพราะใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษ^^ ถ้ามีเวลาก็จะแวะไปหาหนังสืออ่านเพิ่มบ้างแล้ว
นอกจากภาษาเวียดนาม ภาษามลายู และภาษาอินโดนีเซียแล้ว อาเซียนของเรายังมีอีกหลายภาษาเลยนะคะ เช่น ภาษาเขมร ภาษาลาว ภาษาพม่า ภาษาตากาล็อก(ฟิลิปปินส์) ไว้มีโอกาสก็ลองศึกษาภาษาเพื่อนบ้านดูบ้างนะ หรือถ้าน้องๆ คนไหนที่เรียนภาษาอาเซียนอยู่ก่อนแล้วลองแนะนำเพื่อนๆ หน่อยว่าภาษาไหนง่าย ภาษาไหนยาก เชื่อว่ามีเพื่อนๆ รอเก็บข้อมูลอยู่เพียบ
ภาษาอาเซียน
เรียบเรียงโดย KERO uAsean.com
เนื้อหาอ้างอิงจาก mthai
ขอขอบคุณแหล่งที่มา : 3 ภาษาอาเซียนสำคัญ ห้ามพลาด
เนื้อหาอ้างอิงจาก mthai
ขอขอบคุณแหล่งที่มา : 3 ภาษาอาเซียนสำคัญ ห้ามพลาด
เรียบเรียงโดย KERO uAsean.com
เนื้อหาอ้างอิงจาก mthai
ขอขอบคุณแหล่งที่มา : 3 ภาษาอาเซียนสำคัญ ห้ามพลาด
เนื้อหาอ้างอิงจาก mthai
ขอขอบคุณแหล่งที่มา : 3 ภาษาอาเซียนสำคัญ ห้ามพลาด
http://www.languagesgulper.com/eng/Austromap.html
http://thai-aec.in.th/?p=64356
PINJAMAN
Indonesia: Komitmen berdasarkan Tahun Fiskal (dalam jutaan dolar)*
*Jumlah termasuk komitmen IBRD dan IDA
Überblick
Offizieller Name: | Sozialistische Republik Vietnam |
Fläche: | 329.560 km² |
Einwohner: | 87,84 Mio. |
Bevölkerungswachstum | 1,08 % pro Jahr |
Regierungssitz: | Hanoi |
Klima (für Hauptstadt): | subtropisch |
http://liportal.giz.de/vietnam/ueberblick/
http://www.worldbank.org/in/country/indonesia/overview
Indonesia continues to post significant economic growth. The country’s gross national income per capita has steadily risen from $2,200 in the year 2000 to $3,563 in 2012.
In terms of macroeconomic stability, Indonesia has managed to fulfill many of its fiscal targets, including a significant drop in Debt-to-GDP ratio from 61 percent in 2003 to 26 percent in 2013.
Indonesia has formulated a long-term development plan which spans from 2005 to 2025. It is segmented into 5-year medium-term plans, each with different development priorities. The current medium-term development plan covering 2009-2014 is the second phase and focuses on:
- promoting quality of human resources
- development of science and technology
- strengthening economic competitiveness.
However, considerable challenges remain.
No comments:
Post a Comment