follow

Friday, 23 January 2015

Community basic manual..In my dream..


คู่มือชุมชน ต้อนรับผู้มาเยือน
สวัสดีค่ะ/ครับ
ข้าพเจ้าชื่อว่า..............
ตำแหน่งหน้าที่...................
ข้าพเจ้ามีหน้าที่ดูแลและอำนวยความสะดวกท่านในการมาเยือนครั้งนี้
ในศูนย์/จังหวัด/อำเภอ/ตำบล/หมู่บ้าน .......................................แห่งนี้
หากท่านต้องการให้แก้ไขข้อสงสัยหรือุปสรรคใด ในการมาเยือนสถานที่แห่งนี้



เชิญ ท่าน เข้าพัก ที่ ห้องรับรอง/ห้องประชุม/เรือนพักรับรอง
เพื่อ รับประทานอาหาร/เพื่อรับชมการถ่ายทอดวีดีทัศน์/การนำเสนอ/การรายงาน ความเป็นมา / ภูมิหลัง/
ของโครงการ ได้แก่ ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน / กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต/กลุ่มกองทุนแม่ของแผ่นดิน/ศูนย์สารสนเทศชุมชน /ศูนย์ผลิตภัณฑ์ชุมชน


ในการศึกษาดูงานครั้งนี้  มีระเบียบข้อบังคับตามคู่มือ ที่ท่านได้รับ พร้อมกับ /สมุดเยี่ยม/ตั๋ว/บัตรสมาชิก/ศึกษาดูงานฟรี ค่าใช้จ่ายโดยองค์กร ที่นำชม /มีค่าใช้จ่าย ค่า วิทยากร/ค่าอาหาร/ค่าเครื่องดื่ม/ค่าที่พัก

ค่าใช้จ่ายที่ท่านจ่าย นำเข้าสู่กองทุนกลุ่มออมทรัพย์ของหมู่บ้าน เพื่อนำไปลงทุน ปรับปรุงสถานที่ศึกษาดูงาน/จ้างลูกจ้างในการจ้างใช้สอยทั่วไป/จ้างช่างทำสวน/จ้างช่างดูแลรักษาระบบไฟ น้ำ /เครื่องอุปโภคบริโภค/จ้างบุคลากร / ค่ารถรางนำเที่ยว/ค่าเรือนำเที่ยว/ค่าจ้างลูกจ้างประจำ/ลูกจ้างชั่วคราว


วิทยากร
สวัสดี ท่านผู้มาเยือน
แนะนำตัว
ในวันนี้ ข้าพเจ้า ได้นำเสนอ ความเป็นมา/ การดำเนินงาน/วัตถุประสงค์ /ประโยชน์ที่ชุมชนได้รับ/ความรู้ที่เป็นประเด็นแลกเปลี่ยน/การแบ่งปันความรู้
โดยข้าพเจ้ามีประเด็นนำเสนอโดยใช้ แผ่นกระดาษ/แผนภูมิ/แผ่นภาพ/เครื่องฉายภาพนิ่ง/วีดีทัศน์
โดยใช้เวลา 10/15/20 นาที
ท้ายสุดนี้ ท่านมีข้อซักถามใด ที่ต้องการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วมกัน
โปรดซักถามได้ตลอดเวลาที่ทำการบรรยาย/โปรดซักถามเมื่อจบการบรรยายแล้ว

โปรดสอบถาม ได้จำนวน 3 /5/10 คำถามที่สำคัญ
โดยให้เวลาข้อคำถามและตอบข้อละ 2/5/10 นาที
ขอบคุณ ท่านที่ถามปัญหา/ข้อคิดเห็น ในประเด็น.............นี้
เป็นข้อคำถามที่น่าสนใจและมีความสำคัญมาก  ขอขอบคุณที่ท่านให้ความสำคัญในประเด็นนี้
ข้อคำถามนี้ เกี่ยวกับ การดำเนินขององค์กร ภาครัฐ/ภาคเอกชน ที่ดำเนินการเกี่ยวข้องกับองค์กรของเรา
เราขอนำข้อคำถามและข้อคิดเห็นไปหารือ/ประสานกับองค์กรที่เกี่ยวข้อง
เพื่อแจ้งให้ท่านทราบ ในส่วนที่ที่เกี่ยวข้องในภารกิจ ของเรา ภายในเวลา 3 /5 /10/ วัน /สักระยะเวลาหนึ่ง

เมื่อท่านหมดข้อซักถาม/ข้อหารือ แล้ว
ขอเชิญท่านเข้าเยี่ยมชมกิจการ/การดำเนินงาน/กระบวนการ/การบริหารจัดการองค์กร  ของเรา ในสถานที่ต่อไปนี้
บ้านพักชุมชน/ศูนย์สาธารณสุขชุมชน / ศูนย์แพทย์แผนไทย/โรงงาน/สถานประกอบการ

สถานที่แห่งนี้ ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ของอาคารดังต่อไปนี้/ตามแผนผัง/แผนที่
ท่านสามารถใช้ แผ่นพับ/หนังสือคู่มือ/แถบเสียง/เครื่องถ่ายทอดวีดีทัศน์/อัตโนมัติ โดยเดินไปตามจุด ศึกษาดูงานแต่ละจุด ตามลำดับ ดังนี้  จุดดูงานจุดที่ 1…ห้องโถงใหญ่…….2…ห้องจัดแสดงนิทรรศการ  3. ห้องแสดงสื่อ แสง สี เสียง 4. ห้องประวัติศาสตร์/ความเป็นมา/ความรู้/ภูมิปัญญา ประจำชุมชน/พิพิธภัณฑ์ชุมชน 5.ห้องแสดงการก่อตั้ง/องค์กรที่เกี่ยวข้องห้องผู้เป็นเกี่ยรติ/ห้องผู้มีอุปการคุณภาครัฐ /เอกชน//แสดงผู้ที่บริจาคและมอบทรัพย์ เพื่อใช้ในทางสาธารณประโยชน์เพื่อชุมชน  6.ห้องพักรับประทานของว่าง/เครื่องดื่ม/ขนมขบเคี้ยว/ /ห้องซื้อสินค้าที่ระลึก /ผลิตภัณฑ์ชุมชน  7. ห้องน้ำ /ห้องพักนอน 8. ห้องปฐมพยาบาล 9.ห้องสรุปการเยี่ยม/ห้องประเมิน

ท่านและคณะ ได้ ศึกษาดูงาน ในพื้นที่ของเรา เป็นเวลาทั้งหมด 1/3/5/10 วัน ขอขอบคุณที่ท่านมาพัก/มาเยี่ยมขม/มาแลกเปลี่ยน/เรียนรู้/ให้ข้อคิดเห็น ที่เป็นประโยชน์ แก่ชุมชนของเรา
ท้ายสุดนี้ ขอให้ท่าน  ได้โปรด ประเมิน/ให้ข้อคิดเห็น/ติชม การดำเนินงานของเรา โดย บันทึกไว้ ในแบบประเมิน/สมุดเยี่ยม
เพื่อที่ สถานประกอบการของเรา/กลุ่มอาชีพ/กลุ่มสตรี/กลุ่มออมทรัพย์/กลุ่มเยาวชน  จะได้มีการบริหารจัดการ กลุ่ม/คณะ/ผู้ประกอบการ/โรงงานชุมชน/จะได้มีการแก้ไขปรับปรุง ในส่วนที่ นำชม/ต้อนรับ เป็นความบกพร่อง ให้ดีขึ้น

เพื่อกลุ่มของเรา จะได้มีโอกาส ต้อนรับ/การมาเยือน ของกลุ่ม/คณะผู้มาเยือน ในโอกาสต่อไป

การเดินทางไปยังจุดชมวิว/จุดท่องเที่ยว/ในชุมชนของเรา มีจุดพัก โดยมี มัคคุเทศส์ ที่ได้รับการฝึกอบรม ภาษา ของท่าน มาแล้ว
ขอแนะนำ มัคคุเทศก์ ชื่อ....................อายุ...............
มัคคุเทศก์ น้อย ที่อายุเป็นผู้เยาว์/เยาวชน นำท่านชมสถานที่ ได้เฉพาะในพื้นที่ที่มีผู้ปกครอง/เจ้าหน้าที่ ของผู้เยาว์ อยู่ในความดูแล ได้ทั่วถึง เท่านั้น

มัคคุเทศก์มืออาชีพ หรือบุคคลที่ชำนาญเส้นทางอื่นๆ ต้องอยู่ภายในการกำกับดูแล ของเจ้าพนักงานปกครอง/ตำรวจ/อาสาสมัคร/รักษาความปลอดภัยท้องถิ่น ที่อยู่ภายใต้การกำกับของ กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน/ นายกเทศมนตรี /นายอำเภอ /ผู้ว่าราชการจังหวัด

การศึกษาดูงานที่นอกเหนือ จากกำหนดการ ที่ทางชุมชน จัดเตรียมให้ท่าน ขอให้ท่าน แจ้ง ผู้ประสานงานของท่าน ให้ประสานข้อมูล กับ ฝ่ายความมั่นคง และอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่นศูนย์ข้อมูลการท่องเที่ยวของภาครัฐ หรือที่ภาครัฐ ให้การรับรองเป็นต้น

www.apn-gcr.org/2014/12/22/apn-funded-project-releases-trainer-manual-for-community-forest-biomass-monitoring/

APN Funded Project Releases Trainer Manual for Community Forest Biomass Monitoring

APN project “Participatory Approaches to Forest Carbon Accounting to Mitigate Climate Change, Conserve Biodiversity and Promote Sustainable Development” paved the way to the development of a new publication,Community based forest biomass monitoring: A manual for training local level facilitators.
cover_CBFBM Manual
The publication guides the training-of-trainers to build the capacity of the local level facilitators on selecting, testing and adapting the technical parameters and measurement methods for forest monitoring, and on designing an effective field training. It also serves as a reference material for forest community organisers to practice effective facilitation skills that are essential for any participatory methodology with local communities.

Community Tourism Development Manual

Cynthia C. Messer; 3rd Edition
Copyright © 2010 Regents of the University of Minnesota. All rights reserved.


Note: This is a Web Sampler. Information about the complete publication and how to order it is available here.

In the past several decades, tourism has evolved as a major economic development priority for many communities. Increasing consumer demand for educational and participatory travel experiences has resulted in a variety of specialty niche markets such as nature-based tourism, cultural-heritage tourism, and agritourism. Today, more and more communities seek to link strategic tourism planning with sustainable development. To address these trends and needs, the University of Minnesota Tourism Center developed Community Tourism Development.
http://www.extension.umn.edu/community/tourism-development/materials/development-manual/

http://www.apa.org/international/pi/2012/06/cuba.aspx

Overview of psychology in Cuba

APA’s delegation with Cuban colleagues from the Ministry of Health (MINSAP), The Cuban Society of Psychologists, and the National Health Psychology Group of MINSAPThere are 1,700 psychologists and 800 psychology technicians in Cuba's health care system. All psychological services are delivered in health and community settings, and psychology is integrated in the Ministry of Public Health. Their system is based on a biopsychosocial concept of care, with a health and prevention focus. The policlinico staffs work to modify risk factors in communities. Health teams are multidisciplinary. Psychology training for practice is now focused on increasing competencies throughout all levels. All research at CIPS is done at the request of the government and is multidisciplinary; psychologists study family, religion, learning, I/O processes, social health, work, youth, and creativity and education. A variety of institutions within the National Health System collectively support the development of neuropsychology research and applications. For example, the Institute of Science and Technology Ministry's Cuban Neuroscience Center (CNEURO) is dedicated to conducting research that improves the quality of life. This research includes developing image processing toolboxes for medical applications, such as the development of neuroformatics, neuroimaging, neurostatistics and, most recently, neurofeedback as a form of treatment for epilepsy.



No comments:

Total Pageviews

birdmydog - View my most interesting photos on Flickriver

Popular Posts

Translate

mobilizerthai's shared items

Popular Posts

Blog Archive

Search This Blog

wut do you favor on top in community future???

ding ding

About Me