follow

Monday 14 December 2009

Brief about poverty seminar direct to South and south east ASIA POLICY ..


WHEN INTERIOR MINISTRY BE FOCAL POINT.OF POVERTY REDUCTION ..AND WUT HAPPENED NOW????

must be upgrade our personel...right now?????


สรุปผลการประชุม
๒.๔.๑ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดการแก้ไขปัญหาความยากจนกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศด้านการแก้ไขปัญหาความยากจน โดยนายวิบูลย์ สงวนพงศ์ รองปลัดกระทรวงมหาดไทย หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านการพัฒนาชุมชนและส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เรื่องกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อลดความยากจนกับบทบาทของกระทรวงมหาดไทย ได้ให้ข้อคิดเห็นและเสนอแนะให้หน่วยงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทยได้มีการบูรณาการด้านข้อมูลและดำเนินการร่วมกันในกิจกรรมหรือการประชุมร่วมต่างๆ เพื่อให้คณะทำงานประสานความร่วมมือระหว่างประเทศด้านการแก้ไขปัญหาความยากจน กระทรวงมหาดไทย ตามคำสั่ง ที่ ๖๐๓/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๑ ได้ขับเคลื่อนไปด้วยกันอย่างมีประสิทธิภาพและมีผลปฎิบัติการได้อย่างรวดเร็วและบรรลุผลทันทีตามเป้าหมายของรัฐบาลและกรอบความร่วมือระดับประเทศต่างๆ
๒.๔.๒ การแลกเปลี่ยนประสบการณ์การปฎิบัติงานด้านการลดความยากจนภายใต้กรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ สามารถนำไปสู่การพัฒนาการทำงานด้านการต่างประเทศของกระทรวงมหาดไทยในภาพรวม เช่นการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับปัญหาการเคลื่อนย้ายถิ่นของคนต่างด้าวตามชายแดน ละการดำเนินการเกี่ยวกับร่องน้ำหรือเขตแดน หรือ การแก้ไขกฏหมายเกี่ยวกับที่ดิน เพื่อให้เกิดผลประโยชน์ร่วมกันตามกรอบและความมุ่งหมายของความร่วมมือด้านการพัฒนาชนบทและการขจัดความยากจนของอาเซียน ที่ให้ความสำคัญต่อการส่งเสริมการพัฒนาชนบทเพื่อให้ประชาชนพีงพาตนเองได้ รวมทั้งบรรเทาผลกระทบที่เกิดจากวิกฤตเศรษฐกิจในปัจจุบัน ซึ่งแนวคิดและการดำเนินงานเพื่อเป้าหมายโดยUNDP หรือ MDGs ย่อมต้องอาศัยการร่วมมือกันในส่วนภาครัฐ และเอกชนทุกภาคส่วน จึงจะสามารถบรรลุเป้าหมายได้ โดยวิธีการที่นายสมชาย วิทย์ดำรง ผู้อำนวยการสำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน กรมการพัฒนาชุมชนได้บรรยายสรุปวิธีการเน้นการสร้างรายได้และลดค่าใช้จ่ายเพื่อสร้างความมั่นคงให้แก่ประชาชน โดยมีจังหวัดต้นแบบที่ดำเนินกิจกรรมด้านการแก้ไขปัญหาความยากจน ที่มุ่งบูรณาการทั้งจังหวัด รวมทั้งกิจกรรมที่ UNDP ได้เสนอแนวคิดและสนับสนุนกิจกรรมนำร่องในการแก้ไขปัญหาความยากจน ในบางตำบล หมู่บ้าน ในหลายจังหวัด ของประเทศ โดยคาดหวังว่า การบูรณาการทั้งจากหน่วยงานขององค์การระหว่างประเทศและแผนพัฒนาจังหวัดแบบบูรณาการ จะสามารถนำแนวคิดมาส่งเสริมซึ่งกันและกันได้ในปีงบประมาณต่อไปหรือในอนาคต
๒.๔.๓ ภารกิจหลักของการดำเนินงานด้านความสัมพันธ์กับต่างประเทศด้านการพัฒนาชนบทและแก้ไขปัญหาความยากจน ทั้งกับประเทศเพื่อนบ้านและประเทศอื่นๆ นอกภูมิภาค เช่นESCAP , BIMSTEC เป็นต้น โดยกรมการพัฒนาชุมชนได้รับเชิญให้เข้าร่วมประชุม สัมมนา แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น และนำเสนอข้อมูลด้านการลดความยากจนและการพัฒนาชนบท ทุกครั้งและนำข้อมูลที่ได้วางนโยบายและปฎิบัติการจริงในพื้นที่มาปรับใช้กับงานเสริมสร้างความเข้มแข็ง เกี่ยวกับการเสริมสร้างพลังมวลชนโดยผ่านการเสริมศักยภาพของผู้นำชุมชนในท้องถิ่น ซึ่งผู้นำในชุมชนที่พัฒนาการจังหวัดและพัฒนากรในพื้นที่ ต้องสร้างกิจกรรมเพิ่มความสามารถในการบริหารทุนหรือวิสาหกิจชุมชน จากการใช้ผลิตภัณฑ์ชุมชนและศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวและวัฒนธรรมชุมชน ผ่านการบริหารจัดการท้องถิ่นโดยกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ทั่วประเทศ ซึ่งผู้นำในพื้นที่ที่รับการพัฒนาโดยสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเป็นกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน อาสาพัฒนาชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข ดังนั้นการบูรณาการข้อมูลระหว่างหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทำให้การแก้ไขปัญหาความยากจน โดยกระทรวงมหาดไทย สมควรที่จะบรรลุเป้าหมายของกรอบความร่วมือระหว่างประเทศต่างๆได้จริง
๒.๔.๔ การที่ผู้แทนจากกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้ประสานมอบหมายให้กระทรวงมหาดไทยเป็นหน่วยงานประสานงานหลักของไทยภายใต้กรอบความร่วมมืออาเซียนด้านการพัฒนาชนบทและการขจัดความยากจน และแผนงานประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ( ASCC Blueprint ) โดยผู้แทนกระทรวงได้สรุปเกี่ยวกับภารกิจ หน้าที่ และความสำคัญเกี่ยวกับการเข้าร่วมประชุมและต้องนำผลการประชุมมาปฎิบัติการแก้ไขปัญหาความยากจนให้เกิดประสิทธิผลอย่างจริงจัง เนื่องจากการประชุมหรือจัดการประชุมในกลุ่มประเทศตามกรอบความร่วมมืออาเซี่ยนดังกล่าว ส่วนใหญ่ยังคงเป็นประเทศยากจน ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการหรือเดินทางไปประชุมเป็นส่วนที่ต้องใช้งบประมาณของประเทศจำนวนมาก ผู้แทนของกระทรวงจึงขอให้การเตรียมบุคคลากรในแต่ละหน่วยราชการของกระทรวงมหาดไทยให้เป็นบุคคลากรที่มีคุณสมบัติตามที่ต้องใช้งานและจำเป็นต่อการไปร่วมประชุมทุกครั้ง โดยข้อคิดเห็นและเสนอแนะเหล่านี้สอดคล้องกับ นายอิศร ปกมนตรี เอกอัครราชทูตประจำกระทรวง กระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งมีความเห็นว่าการจัดประชุมในเวทีความร่วมมือระหว่างประเทศ และการใช้ภาษาอังกฤษในการประชุมความร่วมมือระหว่างประเทศ มีผลต่อการการเจรจาต่อรองผลประโยชน์ของประเทศมาก จึงขอให้กระทรวงมหาดไทยในฐานะเจ้าภาพหลักโดยหน่วยงานประสานงานหลักของไทยภายใต้กรอบความร่วมมืออาเซียนด้านการพัฒนาชนบทและการขจัดความยากจน และแผนงานประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ( ASCC Blueprint ) ต้องมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนัก และสามารถคัดเลือกผู้แทน ไปประชุมให้เหมาะสม และประหยัด อีกทั้งหากต้องเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมนานาชาติเกี่ยวกับกรอบความร่วมมือดังกล่าวในประเทศไทย ทางกระทรวงมหาดไทยสามารถดำเนินและเตรียมการได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
๒.๕ การเดินทางไปศึกษาดูงาน โครงการปรับภูมิทัศน์ตลาดน้ำอัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม และบรรยายสรุปแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนด้วยการพัฒนาตลาดน้ำอัมพวา และนำผู้เข้าอบรมศึกษาดูงานโครงการฯ โดย นายกเทศมนตรีตำบลอัมพวา โดยจากการบรรยายสรุปและการศึกษาดูงานโครงการนี้ซึ่งเป็นโครงการที่ได้รับรางวัล World Heritage Award จาก UNESCO โดยได้รับการชมเชยว่าเป็นโครงการที่เสริมสร้างสิ่งแวดล้อมเพื่อยกระดับสถานที่ท่องเที่ยวไทยเทียบระดับมาตรฐานสากล
๓. ข้อเสนอแนะ
๓.๑ เรื่องเกี่ยวกับการสนับสนุนงบประมาณโดยกระทรวงมหาดไทยหรือเงินนอกงบประมาณอื่นๆ ในเรื่องการฝึกอบรมและการรับทุนเพื่อฝึกภาษาอังกฤษ หรือการจัดประชุมในเวทีความร่วมมือระหว่างประเทศ และการใช้ภาษาอังกฤษในการประชุมความร่วมมือระหว่างประเทศ โดยการสนับสนุนโครงการจากสถาบันเทววงศ์ปกรณ์ หรือโดยเอกอัครราชทูตประจำกระทรวง กระทรวงการต่างประเทศ ในปี๒๕๕๓ เนื่องจากในโครงการตามกรอบความร่วมมือมีการประชุม ปฎิบัติการ และศึกษาดูงานในประเทศและต่างประเทศ เรื่องนี้ทางกลุ่มงานวิเทศสัมพันธ์และบุคคลากรที่ทำงานเกี่ยวข้องกับงานด้านการต่างประเทศ หรือผู้บริหารระดับสูง หรือบุคคลกรที่ต้องมีหน้าที่เป็นเจ้าภาพหลักที่ต้องมีความรู้ภาษาอังกฤษดี สามารถเป็นผู้ดำเนินการการประชุมนานาชาติได้ ตามเป้าหมาย กรอบความร่วมมือ บุคคลากรของกรมการพัฒนาชุมชนต้องได้รับการจัดฝึกอบรมแบบเต็มรูปแบบโดยอาศัยต้นแบบโครงการเดิมที่ดำเนินการโดยสถาบันเทววงศ์ปกรณ์ และสถาบันฝึกอบรมการพัฒนาชุมชน มาจัดการฝึกอบรมแบบเป็นการภายในหรือให้ได้อบรมจากสถาบันภายนอกโดยต้นสังกัดให้เบิกจ่ายได้ เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของบุคคลากรของกรม โดยทั่วถึง และเป็นการบังคับ ไม่เลือกปฎิบัติ เพื่อให้ข้าราชการของกรมการพัฒนาชุมชนทั้งในส่วนกลางและภูมิภาคมีโอกาศได้รับการฝึกอบรมเกี่ยวกับงานการต่างประเทศได้ทั่วถึงกัน สะดวกต่อการทำงานด้านการต่างประเทศในและนอกประเทศ โดยไม่จำกัด
เฉพาะข้าราชการในส่วนวิเทศสัมพันธ์เท่านั้น และควรมีหลักสูตรด้านการประชุมและเจรจาระหว่างประเทศให้แก่ผู้บริหารในระดับชำนาญการพิเศษขึ้นไปด้วย เนื่องจากในโอกาศที่ปีงบประมาณต่อไปประเทศไทยและกระทรวงมหาดไทยต้องรับภาระเป็นเจ้าภาพในการจัดประชุมนานาชาติเกี่ยวกับความยากจน จำเป็นต้องใช้บุคคลากรที่มีความสามารถทั้งประสบการณ์และงานวิชาการที่ต้องใช้ภาษาต่างประเทศได้เป็นอย่างดี ทั้งในส่วนของภูมิภาค ในจังหวัดนำร่องชายแดนหรือในจังหวัดที่มีโครงการที่เสริมสร้างสิ่งแวดล้อมเพื่อยกระดับสถานที่ท่องเที่ยวไทยเทียบระดับมาตรฐานสากล หรือเน้นสังคมวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมศักยภาพ ความเข้มแข็งของ ผู้นำชุมชนในท้องถิ่น รวมถึงวิสาหกิจชุมชนจากการท่องเที่ยว เป็นต้น
๓.๒ การบูรณาการงานด้านการต่างประเทศร่วมกับกรมอื่นๆและหน่วยงานอื่น เช่นการศึกษาดูงาน การประชุมเจรจาระหว่างประเทศ ควรมีการปรึกษาและอาศัยข้อมูลหรือบุคคลากรร่วมกันโดยมีการจัดการโครงการที่ร่วมกันแต่เริ่มแรก เพื่อสามารถระดมสมองมาใช้ร่วมกัน รวมไปถึงการนำองค์ความรู้ของบุคคลากรและค่าใช้จ่ายร่วมกันอย่างเป็นธรรม เพื่อสามารถผลิตผลงานที่เป็นรูปธรรมที่เกิดจากการทำงานเริ่มกันแต่เริ่มโครงการร่วมกันอย่างแท้จริง โดยเฉพาะการส่งเสริมให้มีการศึกษาดูงานในประเทศที่พัฒนาแล้ว ด้านความเข้มแข็งและวิสาหกิจชุมชนและการพัฒนาทุน ให้แก่บุคคลากร ไม่เพียงให้เฉพาะผู้ที่ทำงานในส่วนของนโยบายเช่นส่วนของสำนักปลัดกระทรวงเท่านั้น ควรให้ผู้บริหารหรือพัฒนากรในพื้นที่ได้ร่วมกันไปศึกษาดูงานเป็นหมู่คณะในประเทศที่สามารถแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับความยากจนได้อย่างประสบความสำเร็จด้วย เช่นยุโรป สหรัฐอเมริกาหรือญี่ปุ่นเป็นต้น เพราะฝ่ายปฎิบัติการในพื้นที่เป้าหมายควรได้รับการส่งเสริมให้มีวิสัยทัศน์ที่ก้าวไกล โดยน่าจะจัดให้เดินทางร่วมไปกับกลุ่มของกรมส่งเสริมปกครองท้องถิ่นหรือกรมที่ดิน หรือกรมโยธาธิการ หรือกรมป้องกันสาธารณภัย เพราะวิสัยทัศน์เกี่ยวกับการพัฒนาชุมชนจะต้องบูรณาการในส่วนของการมีส่วนร่วมของชุมชนและต้องเน้นการกระจายอำนาจลงไปสู่ท้องถิ่น จึงจำต้องทำงานควบคู่ไปกับการพัฒนาท้องถิ่นทั้งในส่วนของการพัฒนาคน เพื่อให้สร้างความตระหนักในการดูแลรักษาให้คงไว้ซึ่งความสำคัญของการสรางอำนาจต่อรองของการรวมกลุ่ม ทั้งกลุ่มอาชีพ สตรี เยาวชน ทุนชุมชน กลุ่มออมทรัพย์ การใช้ประโยชน์ในที่ดิน รวมไปถึงการร่วมกันดูแลสมบัติสาธารณะโครงสร้างพื้นฐานในชุมชน ด้วย เช่นคลอง ถนน อาคาร สถานที่สมบัติส่วนรวมต่างๆ ไม่ใช่ว่าผู้เป็นข้าราชการเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนในส่วนของกระทรวงมหาดไทยเอง ยังไม่มีความตระหนัก ความรู้ ในการดูแลชุมชนทั้งจิตใจผู้คน วัฒนธรรมสังคม และยังไม่สามารถชักนำให้ผู้คนในชุมชนได้ตระหนักในการมีจิตสาธารณะช่วยกันดูแลรักษาป้องกันทรัพย์สมบัติส่วนรวม และคอยป้องกันไม่ให้ชุมชนของตนต้องเสียหาย เสียประโยชน์ จากภัยต่างๆ ทั้งภัยจากภัยพิบัติธรรมชาติและภัยมลพิษเกิดกับสิ่งแวดล้อมจากที่มนุษย์ก่อขึ้น ไม่เคยได้รับโอกาสให้ได้เห็น สัมผัส สิ่งที่เป็นต้นแบบแบบอย่างที่ดีถูกต้องทั้งในการบริหารจัดการที่ดี หรือการพัฒนา ส่งเสริมการมีส่วนร่วม การปกครองท้องถิ่นที่ดี ก็ไม่อาจสร้างความรับผิดชอบต่อหน้าที่หรือตระหนัก และปฎิบัติในพื้นที่ได้ หากได้แต่ส่งบุคคลากรในส่วนกลางหรือส่วนนโยบายไปมากมายแต่ส่วนที่ต้องปฎิบัติการกลับไม่มีโอกาศศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติมเลย ดังนั้นพัฒนาการอำเภอหรือพัฒนากรในระดับอำเภอและตำบลต้องได้รับโอกาศนี้เป็นจำนวนมากกว่าบุคคลากรที่อยู่ในระดับนโยบายแต่ไม่ได้เป็นกลุ่มเป้าหมาย ตามที่ตัวแทนจากกระทรวงพัฒนาสังคมและกระทรวงการต่างประเทศ พยายามเน้นให้มีความตระหนัก
จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ

Thursday 19 November 2009

Next and more in cooperate be drive inside ASIA development Fund?????

Skip to main content
Feedback

Belgian PM is first 'president of Europe'

November 19, 2009 -- Updated 0758 GMT (1558 HKT)
Herman Van Rompuy is "well known as a consensus builder," said Gordon Brown.
Herman Van Rompuy is "well known as a consensus builder," said Gordon Brown.
STORY HIGHLIGHTS
  • Belgian PM Herman Van Rompuy appointed first "president of Europe," British PM Gordon Brown says
  • Tony Blair ruled out after his successor as UK PM realized Blair had insufficient support
  • President of EC will be first permanent chief of the European Council of Ministers
  • Selection conducted by heads of state and government, not by Europe's parliamentarians

Brussels, Belgium (CNN) -- European Union leaders named Belgian Prime Minister Herman Van Rompuy as the first "president of Europe" Thursday, edging out former British Prime Minister Tony Blair for a still-vaguely defined job.

"I did not seek this high position, and I didn't take any steps to achieve it," Van Rompuy said in accepting the job. "But tonight, I take on this task with conviction and with enthusiasm."

Van Rompuy, a 62-year-old, soft-spoken fan of Japanese poetry, will become the face of European Union and represent its 27 member nations at summits overseas. His conservative government took office in December 2008.

The Belgian is "well known as a consensus builder," said British Prime Minister Gordon Brown, who added the selection was unanimous. And Jose Manuel Barroso, the president of the European Commission -- the executive arm of the EU -- called Van Rompuy's selection "a tribute to Belgium," the EU's host country.

" I think the European Union also expressed its gratitude for the work of Belgium and the constant support that this country at the heart of Europe has given to our common project," he said.

In his speech, Van Rompuy pledged to lead the EU through a process of "dialogue, unity and action."

"A negotiation that ends with a defeated party is never a good negotiation," he said. "As president of the council, I will listen carefully to everyone, and I will make sure that all deliberations turn into results for everyone."

The presidency was created by the European Union's Lisbon Treaty, which came into force this month after years of torturous negotiations. Van Rompuy will serve a two-and-a-half-year term, replacing the six-month presidency of the bloc that rotated among the heads of its member states.

Video: First EU president named
RELATED TOPICS

But while the EU prides itself on being a club of democracies, the process of choosing its new leader was far from transparent or open.

The people of Europe are getting no say, not even through their parliamentarians. Van Rompuy's new job was announced after a closed-door dinner for the EU's heads of state and government.

The Belgian defended the process, telling reporters the selection was made by leaders "who were all democratically chosen."

"I was chosen on the basis of a treaty," he said. "The treaty stipulates the procedure. The treaty was democratically approved by 27 member states."

The EU leaders also named Catherine Ashton, a British trade commissioner and member of the House of Lords, as the union's High Commissioner -- its equivalent of a foreign minister. Unlike Van Rompuy, who was chosen by leaders of the EU's member states, Ashton must be confirmed by the European Parliament.

Blair, who led Britain from 1997 to 2007, is currently the EU's Mideast envoy. He had been the early favorite for the presidency in recent weeks -- but Brown, his successor, realized that he lacked support among key decision-makers for new post, a Brown representative told CNN earlier.

According his backers, who at first included French President Nicolas Sarkozy, he was just the sort of world-renowned figure to win attention for the EU and enable it to exercise its weight in world affairs. One Indian official told CNN before the announcement, "If the EU chooses as its worldwide representative the prime minister of Belgium or Luxembourg, I am not sure our leaders will have the time to meet him."

But others were soon arguing that Blair's support for the U.S.-led invasion of Iraq and his close alliance with former U.S. President George W. Bush made him a divisive figure in Europe. And as the one man who might have been able to take Britain into the European single currency, he had not even attempted to do so while he was Britain's prime minister.

Public backing from Italy's Silvio Berlusconi, a joke figure to much of Europe and another Bush ally, did not help.

Brown had realized earlier that Blair did not have enough support among key decision-makers to snag the new post, a Brown representative told CNN earlier.

CNN Political Contributor Robin Oakley contributed to this report.

Obama to send envoy to North Korea

November 19, 2009 -- Updated 0804 GMT (1604 HKT)
U.S. President Barack Obama talks with South Korean President Lee Myung-Bak on Thursday in Seoul, South Korea.
U.S. President Barack Obama talks with South Korean President Lee Myung-Bak on Thursday in Seoul, South Korea.
STORY HIGHLIGHTS
  • United States careful to describe Bosworth trip as only limited diplomatic foray
  • In recent weeks North Korea has sought direct talks with the United States
  • Envoy Bosworth's trip to North Korea slated for December 8
  • Trip could lead to new negotiations and move six-party talks away from standstill
RELATED TOPICS

Seoul, South Korea (CNN) -- U.S. President Barack Obama, meeting with South Korean President Lee Myung-bak in Seoul on Thursday, said he will send envoy Stephen Bosworth to North Korea next month for bilateral talks on dismantling Pyongyang's nuclear program.

"If North Korea is prepared to take concrete and irreversible steps to fulfill its obligations and eliminate its nuclear weapons program, the United States will support economic assistance and help promote its full integration into the community of nations," Obama said. "That opportunity and respect will not come with threats. North Korea must live up to its obligations."

Bosworth's trip is slated for December 8.

"Convincing North Korea to give up their nuclear program, it is not a simple matter," according to Lee, who said there's no deadline, at the joint news conference with Obama. "It's not going to be easy, but I believe it is possible that we can resolve this issue peacefully."

The development comes at the end of the U.S. president's tour of Asia, which included stops in Japan, Singapore and China before his visit to South Korea.

In recent weeks North Korea has sought direct talks with the United States in what American officials saw as a possible re-entry to full negotiations with the United States and other countries over ending Pyongyang's nuclear program.

A Bosworth mission had already been announced, but a date was not previously mentioned publicly. The United States has been careful to describe the trip as only a limited diplomatic foray and one not designed to replace the fuller negotiations.

"From our standpoint, the purpose will be to facilitate the early resumption of the six-party talks," P.J. Crowley said at a U.S. State Department briefing last week.

The so-called six-party talks on North Korea's nuclear program had come to a standstill. But the Bosworth trip could lead to new negotiations between North Korea and the United States, South Korea, Japan and Russia and China.

"We are very realistic about our expectations," he said. "We come to this meeting prepared to engage North Korea in the context of the six-party talks, but obviously the bottom line here is that North Korea has to take affirmative steps toward denuclearization. That remains our core objective."

Total Pageviews

birdmydog - View my most interesting photos on Flickriver

Popular Posts

Translate

mobilizerthai's shared items

Popular Posts

Blog Archive

Search This Blog

wut do you favor on top in community future???

ding ding

About Me