follow

Thursday, 25 February 2010

WE CAN DESIGN NEW MISSIONS AND PROJECTS BY CDD POTENTIAL UNDER FUND FROM OUTSIDE COUNTRIES...YES OR NO???????







UNDER NICE HIGH POTENTIAL ABOUT DECENTRALIZE TO RURAL AND CDD PROVINCIAL MANAGEMENT ...I THINK THAT WE CAN!!!!!!!!!

SUGAR GO GO!!!!


สวัสดี ค่ะ เดี๋ยวจะได้หยุดไปทำบุญกันแล้วนะคะ ขอผลัดเฉลยคำตอบของสัปดาห์นี้เป็นสัปดาห์หน้านะคะ วันที่ 1 เราหยุดชดเชยวันมาฆะบูชา และเรามาประชุมกองแผนกันในวันที่ 2 กุมภาพันธ์นะคะ วันนี้เรามาคุยเนื้อหาเกี่ยวกับงานที่อยู่ในเรื่องของกลุ่มงานวิเทศสัมพันธ์กันค่ะ

ข้อหนึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับ การปฏิบัติงานตามความร่วมมือในอนุภาคลุ่มน้ำโขง (GMS ) โดยรัฐบาลของประเทศสมาชิก GMS 6 ประเทศ ค่ะ ดังนั้น เรามาดูกันว่าประเทศสมาชิกใดบ้างละคะไม่ได้อยู่ใน6 ประเทศที่ว่านี้

ส่วนข้อสองเกี่ยวกับงานที่เริ่มดำเนินการไปแล้วโดยกรมการพัฒนาชุมชน และกระทรวงการต่างประเทศ ในส่วนของชุมชนในเกาะแห่งทะเลแปซิฟิกค่ะ ปีนี้ กรมการพัฒนาชุมชน ยังคงคาดหวังว่าจะได้ทำโครงการที่ต้องทำต่อเนื่องกันไปอีก อยำกทราบว่าชื่อโครงการของเราที่จะทำกันในประเทศที่อยู่เหนือประเทศออสเตรเลียและใต้ ประเทศอินโดนีเซีย คือประเทศอะไรคะ

  1. DO YOU KNOW THE NAME OF COUNTRIES THAT IS NOT THE MEMBERSHIPS OF GMS โครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง Greater Mekong Subregion (GMS) ARE???????
  1. THAILAND
  2. MALAYSIA
  3. LOAS
  4. MYANMA
  5. CAMBODIA
  6. INDONESIA
  7. VIETNAM
  8. CHINA ( YUNNAN AND KRUANGSI REGION )
  9. BANGALADESH
  10. SINGAPORE

http://www.mfa.go.th/web/1092.php

  1. DO YOU KNOW THE NAME OF OUR CDD FLAGSHIP VILLAGE PROJECT AND MISSION INSIDE PACIFIC OCEAN IN THIS YEAR 2010 ????? FROM MISSION BETWEEN September 13-22, 2009
  1. SINGAPORE
  2. BRUNI
  3. TIMOR LESTE
  4. PHILIPHINE

http://61.19.244.16/plan/FOREIGNRELATIONS.htm

โครงการศึกษาพื้นที่เป้าหมายเพื่อจัดตั้งเป็นพื้นที่ต้นแบบเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนในการเสริมสร้างสันติภาพในประเทศ………………………………..

Integrated development appraised to sustainable development and peaceful livelihood in ……………………….





การเจรจาจับคู่ธุรกิจการค้ากับผู้ประกอบการ
ณ แขวงหลวงพระบาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

ระหว่างวันที่ 21-24 กุมภาพันธ์ 2553



นายเรืองฤทธิ์ กรมเกลี้ยง พัฒนาการจังหวัดตราด

หัวหน้าส่วนราชการจังหวัดตราดและผู้ประกอบการ ฯ


คู่มือการใช้งานโปรแกรม

Project Management

จัดทำโดย

กลุ่มงานประเมินผล กองแผนงาน

กรมการพัฒนาชุมชน

ปี ๒๕๕๓

สารบัญ

หน้า

แนะนำโปรแกรม Project Management

การใช้งานโปรแกรม Project Management

การเริ่มต้นโครงการ

เมนูโครงการ

เมนูปฏิทินการทำงาน ๑๐

เมนูติดตาม/นิเทศงาน ๑๒

เมนูแฟ้มข้อมูล ๑๓

เมนูกระดานสนทนา/กระดานข่าว ๑๘

แนะนำโปรแกรม Project Management

กองแผนงาน โดยกลุ่มงานประเมินผล มีหน้าที่วางระบบในการติดตามและควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณ ของหน่วยดำเนินการในการดำเนินโครงการ/กิจกรรมเพื่อให้ดำเนินการบรรลุตามเป้าหมายและสำเร็จตามกำหนดระยะเวลา ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินการบริหารผลการปฏิบัติงานบรรลุผลสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ กองแผนงานจึงได้วางกรอบแนวทางการพัฒนาระบบการรายงานความก้าวหน้าโครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๓ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศขึ้น ทั้งนี้ได้รับความร่วมมือกับกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ในการร่วมกันพัฒนาโปรแกรม “Project Management” ผ่านระบบสารสนเทศของกรมการพัฒนาชุมชน โดยมีกรอบแนวคิดดังนี้

กรอบแนวคิดในการพัฒนา PPM

๑. แสดงความก้าวหน้าในการดำเนินโครงการ / กิจกรรม Online Real Time

๒. แสดงผลสำเร็จในการดำเนินโครงการ/กิจกรรม

๓. ลดภาระของเจ้าหน้าที่ในการจัดทำรายงาน

๔. ช่วยประมวลผลและพิมพ์รายงานได้

๕. หน่วยดำเนินการสามารถบันทึกเพิ่มกิจกรรมย่อยได้

๖. กระจายความรับผิดชอบในการบริหารข้อมูลและแก้ไขปัญหา

๗. เปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาโปรแกรม

๘. เชื่อมโยงกับฐานข้อมูลอื่นๆของกรมฯได้

๙. นำไปสู่การพัฒนาและปรับปรุงการดำเนินงานของกรมฯ

๑๐. จัดการความรู้ในการดำเนินโครงการ/กิจกรรม (แลกเปลี่ยนเรียนรู้)

โปรแกรม Project Management ประกอบด้วย เมนูการใช้งาน ๙ เมนู มีเนื้อหาและรายละเอียด ดังนี้

๑.เมนูโครงการ จะเป็นบันทึกข้อมูลรายละเอียดในการดำเนินโครงการ/กิจกรรมต่างๆ โดยสามารถที่จะสร้างกิจกรรมย่อยได้

๒.เมนูปฏิทิน/กิจกรรม สำหรับไว้ทำบันทึก นัดหมาย หรือบันทึกช่วยจำ หรือกิจกรรมที่ทำ ซึ่งจะทำให้สะดวกต่อการนัดหมาย รวมถึงกำหนดการวางแผนการทำงานให้เอื้อต่อการปฏิบัติงานได้

๓. เมนูติดตามนิเทศ จะเหมือนการเขียนบันทึกลงใน พช.๖ แต่ในที่นี้จะบันทึกผ่านทางระบบสารสนเทศ ว่าได้ไปติดตามงานโครงการอะไร หรืองานด้านใด โดยจะเก็บข้อมูลบันทึกเป็นไฟล์ ช่วยลดการเสียหายหรือสูญหาย ในการรับ-ส่งเอกสาร ผู้บริหารสามารถเรียกดูได้ผ่านระบบอินเตอร์เนต

-๒-

ไม่จำเป็นต้องรอเป็นเอกสาร ที่ทางพื้นที่ส่งเข้ามา ซึ่งจะช่วยลดขั้นตอนในการทำงาน และสามารถแก้ไขหรือวางแผนได้อย่างทันท่วงที

๔.เมนูเครื่องมือประเมิน จะเป็นแบบฟอร์มแบบประเมินทางอิเล็กทรอนิกส์ มีเครื่องมือการประเมินให้ดาวโหลด เช่นแบบสอบถาม (ดำเนินการในระยะขยายผล)

๕. เมนูสรุปบทเรียน จะเป็นการสรุปการดำเนินงาน ที่ได้จากการดำเนินโครงการ/กิจกรรม นั้นๆ รวมถึงสิ่งดีๆที่ค้นพบ หรือประสบการณ์ในการทำงาน หรือปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน เป็นการจัดการความรู้ (KM) ในพื้นที่การดำเนินงาน (ดำเนินการในระยะขยายผล)

๖. เมนูรายงานผลของพัฒนาการจังหวัด จะเป็นการสรุปความก้าวหน้าในการดำเนินงานของพัฒนาการจังหวัด (ดำเนินการในระยะขยายผล)

๗.เมนูแฟ้มข้อมูล ไว้สำหรับเก็บเอกสาร รายละเอียดต่างๆ ที่ใช้ประกอบกับโครงการ/กิจกรรมนั้นๆ

๘.เมนูหนังสือประสาน/สั่งการ ไว้สำหรับแนบหนังสือสั่งการ/หนังสือประสานงานที่ทางกรมฯส่งลงไปในพื้นที่

๙. เมนูกระดานสนทนา(กระดานข่าว) ไว้สำหรับบันทึกข้อความที่ใช้สื่อสารกัน โดยอาจจะเป็นข้อเสนอที่ทางพื้นที่ต้องการจะให้ทางกรมฯปรับปรุง เป็นต้น

-๓-

การใช้งาน โปรแกรม Project Management

การเริ่มต้นเข้าสู่โปรแกรม Project Management

เราสามารถเริ่มใช้งาน Project management ได้ โดยเปิดเข้าโปรแกรม Internet Explorer แล้วเปิด website:http://www.cdd.go.th/cdd/index.php เลือกที่ ระบบรายงานของกรมฯ ดังรูปที่ ๑




รูปที่ การเปิดใช้งานโปรแกรม Project management

-๔-

Rectangular Callout: คลิกเลือกเมนู “ระบบรายงานฯ”เมื่อเข้าไปเลือก ระบบรายงานของกรมฯ แล้ว ให้เลือกเมนู ระบบการติดตามความก้าวหน้า โครงการ/กิจกรรมดังรูปที่๒

รูปที่ การเปิดใช้งานโปรแกรม Project management

เมื่อเข้าไปเลือก ระบบรายงานของกรมฯ แล้ว Login เข้าด้วย username และ password ของตัวท่านเองแล้วกดปุ่ม ลงมือ ดังรูปที่ ๓ ก่อนที่ท่านจะเข้าสู่โปรแกรม Project management ท่านอย่าลืม Login name และรหัสผ่าน ถ้าลืมกรุณาติดต่อ ผู้ดูแลโปรแกรมฯโครงการ

Rectangular Callout: ใส่ Login name และ รหัสผ่าน

รูปที่ ๓ การ Login เข้าสู่โปรแกรม Project management

-๕-

รูปที่ ๔ หน้าโปรแกรม Project management

การเริ่มต้นสร้างโครงการ

การเริ่มต้นสร้างโครงการนั้น ผู้ควบคุมระบบจะกำหนดสถานะของผู้ใช้โดยแบ่งออกเป็น ๓ ระดับ

.สามารถกำหนดให้ใครเป็นผู้ควบคุมระบบ (Admin) ซึ่งมีหน้าที่ในการกำหนดสิทธิ์ และแก้ไขปัญหาด้าน username และ Password ของผู้ใช้งาน

.กำหนดให้ผู้ที่เป็นหัวหน้ากลุ่มงาน/หัวหน้าฝ่าย/หัวหน้าโครงการ กำหนดในสถานะChief ของโครงการเพื่อมีสิทธิ์เข้าไปแก้ไขปรับปรุงกำหนดความก้าวหน้าของโครงการด้วยตนเอง แต่ถ้าผู้ใดไม่ได้เป็นสถานะ Chief จะได้แค่ดูข้อมูล จะสามารถเข้าไปแก้ไขเปลี่ยนแปลงสิ่งใดได้ก็ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจากหัวหน้าทีมเท่านั้น

.กำหนดให้ผู้ใช้งานทั่วไปเป็น user คือผู้ใช้งานซึ่งสามารถมีสิทธิ์ในการติดต่อประสานงานกับหัวหน้าโครงการ หรือส่งไฟล์ข้อมูล ส่งเมล์ ส่งบันทึก หรือส่งข้อความในกระดานข่าว รวมถึงการการสนทนา คือการสนทนากับบุคคลในองค์กร(Chat) ได้เท่านั้น

-๖-

เมนูโครงการ

ในการบันทึกข้อมูลโครงการ/กิจกรรม ทางผู้ดูแลระบบ (Admin) จะสร้างโครงการให้ โดยผู้ใช้ (User) จะสามารถบันทึกกิจกรรมย่อยในโครงการหลักได้ โดยเลือกแถบคำว่ากิจกรรมย่อยใหม่ ดังรูป

ขั้นตอนที่ ๑ เลือกแถบคำว่า กิจกรรมย่อยใหม่ดังรูป

Rectangular Callout: คลิก “กิจกรรมย่อยใหม่”

รูปที่ ๕ แสดงการเลือกเพื่อสร้าง กิจกรรมย่อยใหม่

หลังจากนั้น จึงทำการบันทึกรายละเอียดโครงการได้เลย รูปร่างหน้าตาและโครงสร้าง ความหมายเหมือนการสร้างโครงการหลักแต่ถ้าต้องการลบโครงการหลักนั้นๆทิ้งกด Deleteได้เลยโดยใช้ password ของหัวหน้าโครงการ ส่วนโครงการที่ถูกสร้างขึ้นแล้วคำว่า ใหม่ จะเปลี่ยนเป็น แก้ไขเพื่อให้สามารถแก้ไขโครงการได้

กรณีที่ต้องการมีกิจกรรม/ขั้นตอนของกิจกรรมย่อยลึกลงไปอีก

ต้องเลือกไปที่ชื่อของกิจกรรมหลักที่ต้องการมีกิจกรรมย่อยลงไปอีก วิธีการทำก็จะคล้ายการสร้างกิจกรรมย่อยในโครงการหลักโดยสามารถแนบหลักฐานที่กำหนดไว้ในหน้าโครงการ ซึ่งมีวิธีการในการแนบหลักฐานความสำเร็จดังนี้

-๗-

ขั้นตอนที่ ๑ เข้าไปหน้าจอโครงการหลัก แล้วเลือกแถบเมนู งบ+ผู้ร่วมงาน+หลักฐานความสำเร็จ ดังรูป

Rectangular Callout: คลิกเลือก “ปี พ.ศ.”

รูปที่ แสดงการเลือกเพื่อเข้าไปแนบหลักฐาน

ขั้นตอนที่ ๒ เลือกแถบเมนู งบ+ผู้ร่วมงาน+หลักฐานเพื่อแสดงโครงการที่ต้องการแนบหลักฐาน

Rectangular Callout: คลิกเลือก “งบ+ผู้ร่วมงาน+หลักฐาน”

รูปที่ แสดงการเลือกเพื่อแสดงโครงการที่ต้องการแนบหลักฐาน

-๘-

ขั้นตอนที่ เลือก Create เพื่อเข้าสู่การค้นหา ไฟล์ที่ต้องการแนบ

Rectangular Callout: คลิกเลือก “ creat ”

รูปที่ แสดงการเลือก Creat เพื่อจะทำการส่งไฟล์แนบหลักฐาน

หลังจากนั้นจะปรากฎ Dialog Box ดังรูป แล้วจึงเลือกที่ Browse

Rectangular Callout: คลิกเลือก “ Browse ”

รูปที่ แสดงการเลือกที่ Browse เพื่อเข้าไปค้นหา file ที่ต้องการแนบ

-๙-

ขั้นตอนที่ ๔ ทำการเลือก เปิด File ที่ต้องการแนบเป็นหลักฐานความสำเร็จ จะปรากฏชื่อ File ดังรูป

Rectangular Callout: 2.คลิกเลือก “ Open ” Rectangular Callout: 1.คลิกเลือก “ File ”

รูปที่ ๑๐ แสดงการเลือก File ที่ต้องการแนบเป็นหลักฐานความสำเร็จ

Rectangular Callout: “ แสดงชื่อไฟล์แนบ ” Rectangular Callout:  “ รายละเอียดโครงการฯ”

รูปที่ ๑๑ แสดงหลักฐานความสำเร็จ

-๑๐-

เมนูปฏิทินการทำงาน

ในการเข้าดูปฏิทินการทำงานจะแสดงให้เห็นตารางการทำงานของผู้ใช้ (User ) โดยแสดงตาม Username หรือ Password ที่เข้าสู่โปรแกรม ซึ่งสามารถเลือกที่ปฏิทิน ดังรูป

Rectangular Callout: คลิกที่ “ ปฏิทิน/กิจกรรม ”

รูปที่๑๒ เลือกเมนูปฏิทิน/กิจกรรม

การนัดหมาย

ท่านสามารถกำหนดการนัดหมายต่างๆได้ โดยโปรแกรมสามารถเตือนล่วงหน้าได้โดยแสดงเป็น Pop up ขึ้นมาให้เห็นเมื่อใกล้ถึงเวลานัด แต่ต้องเปิดโปรแกรมบนเครื่องคอมฯไว้ การนัดหมายต่าง ๆสามารถดำเนินการได้ดังนี้

Rectangular Callout: คลิกเลือก “ วันที่ ” ต้องการนัดหมาย

รูปที่ ๑๓ แสดงการเลือกวันที่ที่ต้องการนัดหมาย

-๑๑-

Rectangular Callout: 3.คลิกที่  “ Enter ” Rectangular Callout: 2.คลิกเลือก “ เนื้อหา ” เพื่อกำหนดเนื้อหาเรื่องRectangular Callout: 1.คลิกเลือก “ วันที่ ” เพื่อกำหนดวัน-เวลา

รูปที่ ๑๔ แสดงการเลือกวัน เวลา และใส่เนื้อหา

หลังจากนั้นโปรแกรมจะปรากฏวันเดือนปีที่นัดหมาย ดังรูป

Rectangular Callout: การนัดหมายจะปรากฎรายละเอียดขึ้นในตาราง

รูปที่ ๑๕ แสดงตารางการนัดหมาย

หน้าต่างของโปรแกรมจะแสดงให้เห็นรายการที่นัดหมายไว้ เช่นวันที่ 10 มกราคม 2553 มีการอบรมโปรแกรม Project Management

-๑๒-

เมนูติดตาม/นิเทศ

ใช้ในการติดตาม/นิเทศงาน โดยบันทึกลงบนเว็บไซด์ โดยดำเนินการเลือกแถบเมนูติดตาม/นิเทศ

Rectangular Callout: คลิกที่ “ ติดตาม/นิเทศ ”

รูปที่ ๑๖ เลือกเมนูติดตาม/นิเทศ

รูปที่ ๑๗ หน้าเมนูติดตาม/นิเทศ

-๑๓-

Rectangular Callout:   “ ๓.ลูกศร ” Rectangular Callout:   “๒. ใส่รายละเอียดเรื่องที่ติดตาม/นิเทศ” Rectangular Callout:   “ ๑.หัวเรื่อง ”

รูปที่ ๑๘ การบันทึกเมนูติดตาม/นิเทศ

ในช่องหัวเรื่อง ให้ใส่ เรื่องที่ติดตาม/นิเทศ ส่วนในช่องสี่เหลี่ยมข้างล่างช่องหัวเรื่องจะเว้นไว้ให้

ใส่รายละเอียดเนื้อหา เรื่องที่ไปติดตาม/นิเทศ โดยเมื่อพิมพ์เสร็จแล้วจะบันทึกเพื่อเก็บไว้เป็นฐานข้อมูล

ให้เลือก แถบลูกศร แล้วกดลงไป ข้อมูลการติดตาม/นิเทศก็จะถูกบันทึกลงในฐานข้อมูล

เมนูแฟ้มข้อมูล

เมนูแฟ้มข้อมูล ไว้สำหรับเก็บเอกสาร รายละเอียดต่างๆ ที่ใช้ประกอบกับโครงการ/กิจกรรมนั้นๆ

แถบเมนูแฟ้มข้อมูลนี้ จะอำนวยความสะดวกในการทำงานหรือการประสานงานส่งไฟล์ข้อมูลและสามารถสร้างที่เก็บข้อมูลได้โดยกระทำดังนี้

-๑๔-

การสร้างโฟลเดอร์แฟ้มข้อมูล

ขั้นตอนที่ ๑ เลือกที่ แฟ้มข้อมูล ดังรูป

Rectangular Callout: คลิกเลือก “ แฟ้มข้อมูล “

รูปที่ ๑๙ แสดงการเลือกแฟ้มข้อมูล

ขั้นตอนที่ ๒ เมื่อต้องการสร้างแฟ้มข้อมูล (กรณีที่ยังไม่เคยสร้าง) ให้เลือกเมนู ใหม่

Rectangular Callout: คลิกเลือก “ ใหม่ “

รูปที่ ๒๐ แสดงเลือกแฟ้มข้อมูลใหม่

-๑๕-

ขั้นตอนที่ หลังจากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง ดังรูป จากนั้นเลือกสร้างไดเรกทอรี่

Rectangular Callout: คลิกเลือก “ ไดเรกทอรี่ “

รูปที่ ๒๑ แสดงการเลือกสร้างไดเรกทอรี่

ขั้นตอนที่ ๔ ตั้งชื่อไดเรกทอรี่เป็น ฐานข้อมูลหลัก จากนั้นเลือก ลงมือ ดังรูป

Rectangular Callout: ๒.คลิกเลือก “ ลงมือ “ Rectangular Callout: ๑.ตั้งชื่อ “ ไดเรกทอรี่ “

รูปที่ ๒๒ แสดงการตั้งชื่อไดเรกทอรี่

-๑๖-

ผลที่ได้จะเกิดแฟ้มข้อมูล ฐานข้อมูลหลัก ขึ้นมาในโฟลเดอร์แฟ้มข้อมูล โดยสามารถตรวจสอบจากโฟล์เดอร์ แฟ้มข้อมูล หน้าหลักได้

Rectangular Callout: ชื่อไดเรกทอรี่

รูปที่ ๒๓ แสดงฐานข้อมูลที่สร้างแล้ว

การแนบ File ที่เป็นฐานข้อมูลหรือข้อมูลที่ต้องการเผยแพร่ (ไม่ใช่หลักฐานความสำเร็จของโครงการ) สามารถดำเนินการดังนี้

ขั้นตอนที่ ๑ เลือกเมนูใหม่เช่นเดียวกับการสร้างไดเรกทอรี่

Rectangular Callout: คลิกเลือก “ ใหม่ “

รูปที่ ๒๔ แสดงการเลือกเพื่อแนบ File ข้อมูล

-๑๗-

แต่ต่างกันตรงที่ ไม่เลือกที่ไดเรกทอรี่แต่คลิกเลือก “Browser” เพื่อค้นหา File ที่ต้องการนำขึ้นมาเผยแพร่เป็น ดังรูป

Rectangular Callout: คลิกที่  “ Browse “

รูปที่ ๒๕ แสดงการเลือกเพื่อแนบ File ข้อมูล

ขั้นตอนที่ ๒ ค้นหา File ข้อมูล ที่ต้องการได้แล้ว เลือก open จะปรากฏหน้าต่างให้เลือกไดเรกทอรี่ เพื่อ เก็บ File ข้อมูลที่กำหนดไว้ จากนั้นเลือก ลงมือ ดังรูป

Rectangular Callout: ๓.คลิกที่ “ ลงมือ ” Rectangular Callout: ๒.คลิกเลือกที่เก็บข้อมูลมือ ” Rectangular Callout: ๑.ชื่อไฟล์ที่เลือก

รูปที่ ๒๖ แสดงการแนบไฟล์ข้อมูล

เป็นอันเสร็จขั้นตอนการแนบแฟ้มข้อมูลของผู้ใช้งาน (User)

-๑๘-

เมนูกระดานสนทนา (กระดานข่าว)

ไว้สำหรับบันทึกข้อความที่ใช้สื่อสารกัน โดยอาจจะเป็นข้อเสนอที่ทางพื้นที่ต้องการจะให้ทางกรมฯปรับปรุง โดยมีรายละเอียดการใช้งานดังนี้

Rectangular Callout: ๒รายละเอียดเลือ ก Rectangular Callout: ๑.หัวเรื่องเลือ ก Rectangular Callout: ๔.ฐานข้อมูลเลือ ก Rectangular Callout: ๓.ส่งเลือ ก

รูปที่ ๒๗ แสดงการบันทึกข้อมูลลงบนกระดานสนทนา(กระดานข่าว)

ในช่องหัวเรื่อง ให้ใส่ ชื่อเรื่อง ส่วนในช่องสี่เหลี่ยม ข้างล่างช่องหัวเรื่องจะเว้นไว้ให้

ใส่รายละเอียดเนื้อหา เรื่องที่จะฝากข้อความ โดยเมื่อพิมพ์เสร็จแล้วจะบันทึกเพื่อเก็บไว้เป็นฐานข้อมูล

ให้เลือก ส่ง แล้วกดลงไป ข้อความจะถูกบันทึกลงในฐานข้อมูล

-----------------------------------------------------------------------------------------



Total Pageviews

birdmydog - View my most interesting photos on Flickriver

Popular Posts

Translate

mobilizerthai's shared items

Popular Posts

Blog Archive

Search This Blog

wut do you favor on top in community future???

ding ding

About Me