follow

Monday 23 September 2013

Trademark..we have copy right by Thailand Commerce ministry..same objections..?



















http://www.ipthailand.go.th/ipthailand/index.php?option=com_content&task=section&id=20&Itemid=197






เครื่องหมายการค้า
    เครื่องหมายการค้า หมายถึง เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์หรือตราที่ใช้กับสินค้าหรือบริการ ซึ่งเครื่องหมายที่ให้ความคุ้มครองตาม พระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2543 มี 4 ประเภท ดังต่อไปนี้             1. เครื่องหมายการค้า (Trade Mark) คือเครื่องหมายที่ใช้เป็นที่หมายเกี่ยวข้องกับสินค้าเพื่อแสดงว่าสินค้าที่ ใช้เครื่องหมายนั้นแตกต่างกับสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่น เช่น บรีส  มาม่า กระทิงแดง เป็นต้น
    2. เครื่องหมายบริการ (Service Mark) คือ เครื่องหมายที่ใช้เป็นที่หมายหรือเกี่ยวข้องกับบริการ เพื่อแสดงว่าบริการที่ใช้เครื่องหมายนั้นแตกต่างกับบริการที่ใช้เครื่องหมาย บริการของบุคคลอื่น เช่น เครื่องหมายของสายการบิน ธนาคาร โรงแรม เป็นต้น
    3. เครื่องหมายรับรอง (Certification Mark) คือ เครื่องหมายที่เจ้าของเครื่องหมายรับรองใช้เป็นที่หมายหรือเกี่ยวข้องกับ สินค้าและบริการของบุคคลอื่น เพื่อเป็นการรับรองคุณภาพของสินค้า หรือบริการนั้น เช่น เชลล์ชวนชิม แม่ช้อยนางรำ ฮาลาล (Halal) เป็นต้น

    4. เครื่องหมายร่วม (Collective Mark) คือ เครื่องหมายการค้าหรือเครื่องหมายบริการที่ใช้โดยบริษัทหรือวิสาหกิจในกลุ่ม เดียวกัน หรือโดยสมาชิกของสมาคม กลุ่มบุคคล หรือองค์กรอื่นใดของรัฐหรือเอกชน เช่น ตราช้างของบริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด  เป็นต้น
 

การจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าระหว่างประเทศ ตามพิธีสารกรุงมาดริด (Madrid Protocol)
    ปัจจุบันผู้ประกอบการค้า  ได้ใช้เครื่องหมายการค้าเป็นเครื่องมือนำทางการค้า  ทั้งภายในประเทศและการส่งออกสินค้าไปจำหน่ายยังต่างประเทศ  เจ้าของเครื่องหมายการค้าจึงมีความจำเป็นต้องจดทะเบียนขอรับความคุ้มครองสิทธิในประเทศต่าง ๆ ก่อนส่งสินค้าไปจำหน่าย   เพื่อป้องกันปัญหาการละเมิดเครื่องหมายการค้า  และมิให้ผู้ใดนำเครื่องหมายการค้าของตนไปจดทะเบียนในต่างประเทศโดยมิได้เป็นเจ้าของ  กรมทรัพย์สินทางปัญญา  ได้มีนโยบายในการส่งเสริมการให้บริการขอรับความคุ้มครองเครื่องหมายการค้าในต่างประเทศด้วยความสะดวก  รวดเร็ว  และประหยัดค่าใช้จ่าย  ด้วยการศึกษาแนวทางการเข้าเป็นภาคีพิธีสารกรุงมาดริด (Madrid Protocol)
    หากประเทศไทย เข้าเป็นภาคีพิธีสารกรุงมาดริด ผู้ประกอบการหรือผู้ส่งออกของไทยก็จะได้รับประโยชน์ที่จะสามารถยื่นคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า เพื่อขอรับความคุ้มครองในประเทศต่าง ๆ ได้ หลายประเทศในคราวเดียวกัน  โดยยื่นคำขอจดทะเบียนเพียงคำขอเดียว ใช้เพียงภาษาเดียว(อังกฤษ  ฝรั่งเศส หรือสเปน)  และเสียค่าธรรมเนียมเพียงครั้งเดียว  ซึ่งก็จะทำให้ได้รับความสะดวก รวดเร็วในการยื่นคำขอจดทะเบียน และประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินทางอีกด้วย
ขั้นตอนการจดทะเบียน
การยื่นคำขอ
    ให้ยื่นต่อสำนักงานระหว่างประเทศ (International Bureau)  ขององค์การทรัพย์สินทางปัญญาแห่งโลก (WIPO)  โดยยื่นผ่านสำนักงานทะเบียนต้นกำเนิดของประเทศผู้ขอ  ซึ่งจะดำเนินการตรวจสอบและรับรองว่าเครื่องหมายที่ยื่น  สินค้าและ/หรือบริการที่ระบุ  เหมือนกับคำขอรากฐาน (Basic Application)  หรือทะเบียนรากฐาน (Basic Registration)
    คำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าที่จะนำไปยื่นขอจดทะเบียนระหว่างประเทศตามพิธีสารกรุงมาดริดได้นั้น  ต้องเป็นคำขอที่มีการยื่นขอจดทะเบียน หรือได้รับการจดทะเบียนไว้แล้วในประเทศต้นกำเนิด
การจดทะเบียน  การจดทะเบียนแบ่งออกเป็น  2 ขั้นตอน คือ
     1.  ขั้นตอนระหว่างประเทศ
     เมื่อสำนักงานระหว่างประเทศได้รับคำขอจดทะเบียน จะดำเนินการตรวจสอบเบื้องต้น (Formal Examination)  ในเรื่องความสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ของพิธีสารกรุงมาดริดและกฎข้อบังคับพิธีสารกรุงมาดริด (Common Regulations)  การระบุจำพวกและรายการสินค้าและ/หรือบริการ ว่าเป็นไปตาม Nice Classification  หรือไม่  รวมทั้งการชำระค่าธรรมเนียม หากมีข้อบกพร่อง  สำนักงานระหว่างประเทศจะแจ้งไปยังประเทศที่มีการยื่นคำขอและผู้ยื่นคำขอ  ทั้งนี้ ผู้ยื่นคำขอจะต้องแก้ไขภายใน 3 เดือน มิฉะนั้นจะถือว่าละทิ้งคำขอ
     2.  ขั้นตอนในประเทศ
     เมื่อประเทศภาคีที่ผู้ยื่นคำขอประสงค์จะได้รับความคุ้มครองได้รับคำขอแล้ว จะดำเนินการตรวจสอบคำขอดังกล่าวตามขั้นตอนปกติที่ใช้สำหรับการตรวจสอบคำขอที่ยื่นในประเทศ  โดยจะตรวจสอบเนื้อหาสาระ (Substantive Examination)  โดยตรวจสอบตามกฎหมายภายในของตน เช่น ตรวจสอบความเหมือนคล้าย ลักษณะบ่งเฉพาะหรือลักษณะต้องห้าม เป็นต้น หากมีข้อบกพร่องต้องดำเนินการแก้ไขตามกฎหมายภายในของประเทศนั้น ๆ
      หากมีเหตุที่ต้องปฏิเสธการรับจดทะเบียน  จะต้องแจ้งให้สำนักงานระหว่างประเทศทราบภายในกำหนด 12 เดือน หรือ 18 เดือน หรือหลังจากนั้น (กรณีมีคำร้องคัดค้าน)มิฉะนั้นจะถือว่าเครื่องหมายดังกล่าวได้รับการจดทะเบียนในประเทศที่ขอจดทะเบียนนั้นแล้ว
วันจดทะเบียน มี 2 กรณี ดังนี้
      1)  คือวันยื่นคำขอจดทะเบียนต่อสำนักงานทะเบียนต้นกำเนิด หากคำขอดังกล่าวถึงสำนักงานระหว่างประเทศภายใน 2 เดือน
      2)  หากเกิน 2 เดือน ให้ถือวันที่สำนักงานระหว่างประเทศได้รับคำขอเป็นวันจดทะเบียน
อายุความคุ้มครอง      10 ปี นับตั้งแต่วันรับจดทะเบียน และต่ออายุได้อีกคราวละ 10 ปี การต่ออายุสามารถต่ออายุได้ก่อนวันสิ้นอายุ 6 เดือน หรือหลังสิ้นอายุแล้วภายใน 6 เดือนก็ได้  แต่ต้องเสียค่าธรรมเนียมเพิ่มร้อยละ 50 ของค่าธรรมเนียมเบื้องต้น (Basic fee)  ทั้งนี้ สามารถต่ออายุเฉพาะบางประเทศ หรือทุกประเทศที่ได้รับความคุ้มครองก็ได้                 
ค่าธรรมเนียมการยื่นคำขอจดทะเบียนระหว่างประเทศมี 4 ประเภท คือ
      1)  Basic fee  เป็นค่าธรรมเนียมเบื้องต้นสำหรับการยื่นคำขอจดทะเบียนระหว่างประเทศหนึ่งคำขอ
             -  เครื่องหมายขาว-ดำ 653  สวิสฟรังค์
             -  เครื่องหมายที่เป็นสี 903  สวิสฟรังค์
        2)  Supplementary fee  เป็นค่าธรรมเนียมสำหรับจำพวกสินค้าและ/หรือบริการ  ที่ยื่นขอจดทะเบียนเกิน 3 จำพวก โดยเสียค่าธรรมเนียมตั้งแต่จำพวกที่ 4 ขึ้นไป  จำพวกละ 73 สวิสฟรังค์                           
        3)  Complementary fee  เป็นค่าธรรมเนียมสำหรับประเทศที่ระบุเพื่อขอจดทะเบียน ประเทศละ  73  สวิสฟรังค์
        4)  Individual fee  เป็นค่าธรรมเนียมเฉพาะประเทศ

Sunday 15 September 2013

ILC Next ..to be Integration ASEAN workshop class..?


เพื่อการพัฒนาตนเองสู่การเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วโดยเร็ว ทุกคนจะต้องเรียนในภาษาต่างๆ ที่เหมาะสม เพื่อใช้งานในการแข่งขันในเวทีโลก อย่างเร่งด่วน
Hurry up ..for next developed country..you must be develop your language skill too..in every languages..alternative languages..by anyway..any budget..everyone must be access develop budget by fair ..screen..Equity..for World competitive....We need best living...no need to be immigration..yes or no?Right for full educated..is your basic right?

Sugar day ..boring about Specific Incentive person..not fair..yes or no?




10 Key Principles for Designing Video Games for Foreign Language Learning

Ravi Purushotma, Steven L. Thorne, and Julian Wheatley
Authors

Abstract

This paper was produced for the Open Language & Learning Games Project, Massachusetts Institute of Technology Education Arcade, and funded by the William and Flora Hewlett Foundation (2008)
In opening his book describing the ways in which school environments need to adapt to the digital age, Seymour Pappert (1993) imagined two groups of time travelers arriving in the present from a previous century: a group of surgeons and a group of teachers. The surgeons enter a present-day operating room and are overwhelmed, trying to make sense of the strange devices and complex operations that, in earlier times, they could not have even imagined; but the teachers are able to walk into reasonably familiar surroundings and deliver their lessons almost as if they had never traveled through time at all.
Now, what if the time travelers had been foreign language teachers? A century ago – or even much more recently – the model language classroom would probably have featured a teacher at a podium presenting rules of grammar, asking students to ‘parse’ and then translate sentences out of the target language, and perhaps also asking them to translate English sentences written on the blackboard into the target language. Today, a model language classroom looks quite different. In the first place, the teacher is more likely to be off to the side of the class, or moving around, while the students are likely to be organized in groups or pairs. But the most striking difference is that the students seem to be at least as active as the teacher – if not more so; indeed, in progressive classrooms, they are communicating in the target language, asking questions, offering opinions, disagreeing. The teacher may intervene from time to time; and at times, the whole class may focus on a language issue – a point of grammar or lexical usage, a pronunciation problem or a particular cultural practice. But otherwise, the class is engaged in using the language, not merely talking about language. The learning is embedded in communication.
Foreign language learning has never fitted nicely into established models of education the way that other disciplines have. In other fields, such as engineering or history, teachers develop their understanding of the subject through a systematic course of study, which then forms the basis for their own teaching. Many language teachers, on the other hand, have not learned the language through formal study. They may be native speakers, who have come to know their language as young children through the mysterious processes of language acquisition, which even if better understood, would probably not be applicable to more mature, second language learners. But even the non-native speakers, whose training almost always includes a period of formal language instruction, hesitate to simply continue the methods of their own training when confronted with students who’s cultural interests may be vastly different from their own. Foreign language learning, after all, is quite unlike other kinds of academic learning; it is directed towards what is, in fact, a crucial tool for learning, language itself, with implications for personality and even thought. Learning a second language is rather like renovating your house without moving out: you can shift things around and add to the structure, but you still need to be able to live in it. Given the unique nature of the task, it is not surprising to find a diversity of views on language pedagogy and a constant search for more effective and efficient approaches by new generations of language teachers. Despite a range of language teaching practices, there has emerged over the past half century a degree of consensus among  language teachers and others involved in the language learning enterprise; specifically, language  learning should focus on doing real things with the language, not necessarily to the exclusion of more  traditional activities that focus on linguistic elements, but so that ultimately, the learner is involved in  the goal of his or her study: communication. Communicative language teaching, and communicative materials, are designed to achieve this end. Ellis (2003) writes:
It is clear to me that if learners are to develop the competence they need to use a second language easily and effectively in the kinds of situations they meet outside the classroom they need to experience how language is used as a tool for communication inside it. ‘Task’ serves as the most obvious means for organizing teaching along these lines… The study of ‘tasks’ serves to bring SLA [Second Language Acquisition] and language pedagogy together. It is a construct they have in common and thus is the ideal means for establishing bridges between the two fields. 
Introducing ‘tasks’ or problems that require language use to achieve success is a particularly powerful way to ensure real communication in the classroom. Solving problems and doing tasks focus attention and provide an effective organizing principle. The task is the goal, and once the goal is clearly articulated, the linguistic needs become clear; the teacher can organize the curriculum so that these needs – lexical, grammatical, social and cultural – can be met. Tasks may be designed with language learning in mind; or they may simulate the encounters that take place outside the classroom, in the ‘real world’. The following example, taken from Ellis (2003), belongs to the former type. Students are paired off and given separate sheets of paper, containing similar or identical items.

http://lingualgames.wordpress.com/article/10-key-principles-for-designing-video-27mkxqba7b13d-2/

http://www.routledge.com/books/details/9780415240802/
www.sodahead.com/united-states/would-you-welcome-an-increase-in-legal-immigration/question-3638485/?page=14

What do you think? Is this graphic somebody posted, accurate?

http://www.manhattanlanguage.com/courses.php

http://www.geosing.com.sg/facilities.html

http://www.mfa.go.th/dvifa/contents/files/articles-20130701-172222-232712.pdf

ข่าวประชาสัมพันธ์/หลักสูตรอบรม

ประวัติสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการฯ : ประวัติสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการฯ


สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการฯ  :  พระบิดาแห่งการทูตไทย

              ทรงมีพระนามเดิม ว่า พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์  พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ สมเด็จพระปิยมาวดีศรี      พัชรินทรมาตา (ต้นราชสกุลเทวะกุล)  ทรงดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศ ตั้งแต่วันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2428  (ขณะพระชันษา 27 ปี)  ถึง วันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2466   ทรงเป็นเสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศที่อายุน้อยที่สุด  และอยู่ในตำแหน่งยาวนานถึง 38 ปี 16 วัน

              ทรงมีบทบาทสำคัญในการดำเนินภารกิจด้านการต่างประเทศหลายประการ อาทิ การเปิดสำนักงานผู้แทนทางการทูตของไทยในราชสำนักต่างประเทศ  ณ  สำนักเซนต์ เจมส์ แห่งอังกฤษซึ่งตั้งอยู่ที่กรุงลอนดอน  การจัดทำสนธิสัญญากับอังกฤษและฝรั่งเศส  ทรงได้รับการยกย่องอย่างกว้างขวางเกี่ยวกับสำหรับการรักษาอธิปไตยของไทย

              นอกจากนี้  ยังทรงปรับปรุงระบบราชการของกระทรวงการต่างประเทศให้เหมือนกับของบรรดาอารยประเทศ  แบ่งส่วนราชการเป็นกองต่าง ๆ ตามภารกิจหน้าที่  เช่น กองกลาง  กองการทูต กองการกงสุล กองการคดี  กองการกฎหมาย กองเก็บหนังสือ กองแปล กองการบัญชี  แผนกคนต่าง ประเทศ ทรงกำหนดระเบียบวิธีร่างและเขียนจดหมายราชการ  การรับ-ส่ง  การเก็บหนังสือและเอกสารต่าง ๆ  และสถิติการเข้า-ออกของหนังสือทุกประเภทของทุกกอง  รวมทั้งทรงกำหนดให้ข้าราชการ            ลงเวลามาและกลับในสมุดประจำ  จนเป็นแบบแผนการปฏิบัติราชการแก่กระทรวงอื่น   รวมทั้งขอพระราชทานที่ทำการ เพื่อให้เป็น“ศาลาว่าการต่างประเทศ”  ซึ่งนับว่าเป็นกระทรวงแรกที่มีศาลาว่าการกระทรวงเป็นที่ทำการ  แทนการใช้บ้านเสนาบดีเป็นที่ทำการ 

ทรงมีความเชี่ยวชาญในหลากหลายด้าน อาทิ ภาษาไทย ภาษามคธ ภาษาอังกฤษ และวิชาเลข  นอกจากนี้  ยังทรงมีความสนพระทัยในเรื่องโหราศาสตร์และสมุนไพร  ทรงเป็นผู้คิดปฏิทินตาม สุริยคติ นับวันและเดือนแบบสากล  เรียกว่า “เทวะประติทิน”  ซึ่งเป็นต้นแบบของปฏิทินในปัจจุบัน  พร้อมทั้งทรงเป็นผู้คิดชื่อเดือน   มีการแบ่งชื่อเรียกเดือนที่มี 30 วัน และ 31 วันชัดเจนด้วยการใช้คำนำหน้าจากชื่อราศี สมาสกับคำว่า “อาคม” และ “อายน” ที่แปลว่า การมาถึง



















Wednesday 4 September 2013

Test page..CDD NEW NEWS DESK..INTERNATIONAL VERSION ALERT..






http://www.youtube.com/channel/UCI2585NZTQ2gKHNlKM73v0w/videos?view=0&flow=list&live_view=500&sort=dd
http://www.cdd.go.th/index2.php

ประวัติกรมการพัฒนาชุมชน

          กรมการพัฒนาชุมชนป็นหน่วยราชการระดับกรมของกระทรวงมหาดไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่1ตุลาคม2505 ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวงทบวงกรมฉบับที่10พ.ศ.2505โดยโอนกิจการบริหารของส่วนพัฒนาการ ท้องถิ่นกรมมหาดไทยเดิมเป็นกิจการ บริหารของกรมการพัฒนาชุมชน ในขณะที่กิจการบริหารของกรมมหาดไทย ได้โอนเป็นกรมการปกครอง
          ในปัจจุบันตามพระราชบัญญัติโอนกิจการบริหาร ของกระทรวงมหาดไทย ซึ่งปรับปรุงใหม่พ.ศ.2505 และเนื่องจากกรมการพัฒนาชุมชนและกรมการปกครอง มีรากฐานมาจากกรมมหาดไทย เหมือนกันมีความ สัมพันธ์กันในทางจิตใจ ในทางการงานที่ต้องปฏิบัติให้บรรลุผลตามนโยบายของกระทรวงร่วมกัน กระทรวงมหาดไทยจึงมี หนังสือด่วนมากที่1890/2505 ลงวันที่12พฤศจิกายน2505สั่งการไปยังผู้ว่าราชการจังหวัด ทุกจังหวัดให้รับทราบคำสั่งที่1358/2505 เรื่องระเบียบว่า ด้วยความสัมพันธ์และปฏิบัติงานร่วมกันของกรมการปก ครองและกรมการพัฒนาชุมชน
          สรุปได้ว่า "การพัฒนาชุมชนเป็นนโยบายสำคัญของรัฐบาล ในยุคนั้นที่จะปรับปรุงความเป็นอยู่และมาตรฐาน การครองชีพของประชาชน ในชนบทให้ดียิ่งขึ้นในระดับอำเภอ มีนายอำเภอเป็นผู้ประสานงานระหว่าง เจ้าหน้าที่ วิชาการของกระทรวง ทบวงกรมต่างๆ กับพัฒนากร ให้ปฏิบัติงานร่วมกันตาม หลักการ ระเบียบและวิธีการ ในระดับจังหวัด ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นผู้รับผิดชอบ ในการบริหารงานพัฒนาชุมชน โดยอาศัยการประสานงาน อย่างใกล้ชิด ระหว่างส่วนราชการ ต่าง ๆ ของจังหวัด กระทรวงมหาดไทยมีนโยบายให้ข้าราชการของทั้งสองกรม นี้ได้มีโอกาสศึกษา ประชุม สัมมนาและร่วมกันปฏิบัติงาน พัฒนาชุมชน ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ และมีหลักการสับเปลี่ยนโอน หรือยืมตัวหมุนเวียนกันไปปฏิบัติงานได้ตามความจำ เป็น และเหมาะสม ในการสอบคัดเลือกเพื่อเลื่อนขั้นของข้าราชการของกรมการปกครอง กรมการพัฒนาชุมชน สำนักงานเลขานุการรัฐมนตรี และสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย สามารถสอบร่วมกันได้ "
ความหมายของโลโก้กรมการพัฒนาชุมชน :
วงกลมภายในเป็นรูปโครงสร้างของบ้านชนบท มีตัวอักษร พช. อยู่ใต้รูปบ้าน
มีลายกนก แบบเครื่องหมาย ๖ และ ๙ บนตัวอักษร พ. และอักษร ช.
ขอบวงกลมล้อมรอบวงกลมภายในมี 4 สี 4 ช่วง
หมายถึงหลักการท างาน 4 ป.
หมายถึง ประชาชน
หมายถึง ประชาธิปไตย
หมายถึง ประสานงาน
หมายถึง ประหยัด

ภารกิจความรับผิดชอบของกรมการพัฒนาชุมชน

อำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมการพัฒนาชุมชนกระทรวง มหาดไทยพ.ศ. 2552
กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมการพัฒนาชุมชนกระทรวงมหาดไทยพ.ศ. 2552 ให้กรมการพัฒนาชุมชน
มีภารกิจเกี่ยวกับการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ และการมี ส่วนร่วมของประชาชน ส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจ
ชุมชนฐานรากให้มีความมั่นคงและมีเสถียรภาพโดยสนับ สนุนให้มีการจัดทำและใช้ประโยชน์จากข้อมูลสารสนเทศ
ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย จัดทำยุทธศาสตร์ชุมชน ตลอดจนการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาชุมชน
เพื่อให้เป็นชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืน โดยมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ 
(1) กำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ และแนวทางในการพัฒนาชุมชนระดับชาติ เพื่อให้หน่วยงานของรัฐ เอกชน
และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องด้านการพัฒนาชุมชน ได้ใช้เป็นกรอบแนวทาง ในการดำเนินงานเพื่อเสริมสร้างความสามารถและความ
เข้มแข็งของชุมชน
(2) จัดทำและพัฒนาระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน เพื่อใช้เป็นเครื่องมือสำหรับประเมินความก้าวหน้า
และมาตรฐานการพัฒนาของชุมชน
(3)พัฒนาระบบและกลไกในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ การจัดการความรู้ การอาชีพ
การออม และการบริหารจัดการเงินทุนของชุมชน เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถของประชาชน ชุมชน ผู้นำชุมชน องค์การชุม
ชน และเครือข่ายองค์การชุมชน
(4) สนับสนุนและพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศชุมชน ส่งเสริมการใช้ประโยชน์และการ ให้บริการ
ข้อมูลสารสนเทศชุมชน เพื่อใช้ในการวางแผนบริหารการพัฒนาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(5) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย พัฒนา และสร้างองค์ความรู้เพื่อใช้ในงานพัฒนาชุมชน และการ จัดทำยุทธศาสตร์ชุมชน
(6) ฝึกอบรมและพัฒนาข้าราชการ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ผู้นำชุมชน องค์การชุมชน และเครือข่ายองค์การชุมชนให้มีความรู้
ทักษะ ทัศนคติ และสมรรถนะในการทำงาน รวมทั้งให้ความร่วมมือทางวิชาการด้านการพัฒนาชุมชน
แก่หน่วยงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ
(7) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกรม หรือตามที่กระทรวง หรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย

วิสัยทัศน์
 (2555 - 2559)
ชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง

พันธกิจ(2555 - 2559
1. พัฒนาระบบและกลไกส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ของชุมชน
2. ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการบริหารจัดการชุมชน
3. ส่งเสริมการพัฒนาระบบกลไกและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
4. พัฒนาสมรรถนะองค์กรในการทำงานเชิงบูรณาการ


ประเด็นยุทธศาสตร์
 (2555 - 2559)
1. สร้างสรรค์ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข
2. เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน
3. ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์
4. เสริมสร้างธรรมาภิบาลและความมั่นคงของทุนชุมชน
5. เสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง
  • Download รายละเอียดยุทธศาสตร์ กรมการพัฒนาชุมชน(2555 - 2559) คลิกที่นี่

 

โครงสร้างกรมการพัฒนาชุมชน

 การแบ่งส่วนราชการ กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2552
ให้แบ่งส่วนราชการกรมการพัฒนาชุมชน ดังต่อไปนี้
          
            ก. ราชการบริหารส่วนกลาง
(1) สำนักงานเลขานุการกรม
(2) กองการเจ้าหน้าที่
(3) กองคลัง
(4) กองแผนงาน
(5) ศูนย์สารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน
(6) สถาบันการพัฒนาชุมชน
(7) สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน
(8) สำนักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน
(9) สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน

           ข. ราชการบริหารส่วนภูมิภาค
(1) สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด 76 จังหวัด
(2) สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ 878 อำเภอ

หลักการทำงานกับประชาชน
1. พิจารณาภาวการณ์ที่เป็นอยู่ในชุมชนเป็นหลักเริ่มงาน
2. ให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมและรู้เห็นตั้งแต่เริ่มต้น
3. โครงการและกิจกรรมพัฒนาชุมชนต้องค่อยเป็นค่อยไป ไม่เร่งรีบ รวบรัด
4. แสวงหาความต้องการที่แท้จริงของประชาชนให้พบ
5. ใช้วิธีดำเนินงานแบบประชาธิปไตย
6. การวางโครงการต้องยืดหยุ่นอ่อนตัวได้ตามสถานการณ์
7. ทำความเข้าใจในวัฒนธรรมของชุมชน
8. แสวงหาผู้นำท้องถิ่นและผู้นำชุมชนเป็นมิตรคู่งาน
9. ใช้องค์กรที่มีอยู่ในท้องถิ่นให้เป็นประโยชน์
10. อาศัยนักวิชาการหรือผู้ชำนาญเฉพาะสาขา
11. ทำงานกับสมาชิกทุกคนในสถาบันครอบครัว
12. โครงการต้องมีลักษณะกว้าง เพื่อสนองความต้องการของประชาชนได้ ครอบคลุมปัญหาด้านต่าง ด้วย
13. ทำการประเมินงานเป็นระยะๆ
14. ทำงานกับคนทุกชั้นของสังคม
15. สอดคล้องเป็นแนวทางเดียวกับกรอบนโยบายของชาติ
16. อาศัยหลักการเข้าถึงชุมชน
17. ใช้ทรัพยากรท้องถิ่นให้เป็นประโยชน์




 ข่าว พช. จาก หนังสือพิมพ์
อวดโฉมกระเป๋าผ้าทอเส้นใยผักตบชวาคุณภาพพรีเมี่ยม 
เดลินิวส์ : อวดโฉมกระเป๋าผ้าทอเส้นใยผักตบชวาคุณภาพพรีเมี่ยม
ปากน้ำเชิญชวนเข้าร่วมคัดเลือก SMART LADY THAILAND 
พิมพ์ไทย: ปากน้ำเชิญชวนเข้าร่วมคัดเลือก SMART LADY THAILAND
สพภ.ตำบลดงบัง ร่วมกับ 33 ภาคีเครือข่าย ลงนามปฏิญญาดงบัง 
บ้านเมือง:สพภ.ตำบลดงบัง ร่วมกับ 33 ภาคีเครือข่าย ลงนามปฏิญญาดงบัง
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย เชิญชวนสตรีรุ่นใหม่เข้าร่วมโครงการ “SAMART LADY THAILAND” ผู้หญิงสวยด้วยความคิด
บางกอกทูเดย์
โอท็อปสู่สากล
โพสต์ทูเดย์
ผลสำรวจ จปฐ. ๘ ล้าน ๔ แสนครัวเรือนในชนบท สะท้อนคุณภาพชีวิตคนไทยปี ๒๕๕๖
มติชน
  ประกาศ/หนังสือสั่งการ
โครงการจัดแสดงผลสำเร็จของโครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ  
หนังสือด่วนที่สุด ที่ มท 0409.5/ว1538 ลว 4 ก.ย. 56
ขอเชิญร่วมพิธีเปิดงานจัดแสดงผลสำเร็จของโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ 
หนังสือที่ มท.0409.4 /ว 1528 ลว. 3 ก.ย.2556 เรื่องขอเชิญร่วมพิธีเปิดงานจัดแสดงผลสำเร็จของโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ
ประกาศสอบราคาจัดซื้อหมึกเครื่องพิมพ์เพื่อใช้ในราชการกรมการพัฒนาชุมชน
เลขที่ 28/2556 ลงวันที่ 3 กันยายน 2556
เรื่องโครงการจัดแสดงผลสำเร็จของโครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ
หนังสือด่วนที่สุดที่ มท 0409.5/ว 1530 ลว 3 กันยายน 2556
การประกวดและเผยแพร่ผลการดำเนินงานเครือข่ายองค์ความรู้ (Knowledge - Based OTOP : KBO) จังหวัดดีเด่น (OTOP KBO CONTEST) ปี ๒๕๕๖ 
หนังสือ ที่ มท ๐๔๐๘.๕/ว ๑๕๒๓ ลว. ๓ กันยายน ๒๕๕๖

Total Pageviews

birdmydog - View my most interesting photos on Flickriver

Popular Posts

Translate

mobilizerthai's shared items

Popular Posts

Blog Archive

Search This Blog

wut do you favor on top in community future???

ding ding

About Me