follow

Wednesday, 28 January 2015

Community Market..income peak..




















  จังหวัดอ่างทอง...28 มกราคม 2558 เวลา 17.30 น. นายปวิณ ชำนิประศาสน์ ผวจ.อ่างทอง เป็นประธานในพิธีเปิดงานตลาดนัดชุมชน ไทยช่วยไทย คนไทยยิ้มได้ โดยมี นายอัศวิน หนูจ้อย พัฒนาการจังหวัดอ่างทอง กล่าวรายงาน และนำเยี่ยมชมกลุ่มผู้ผลิต Otop ชึ่งการจัดงานกำหนดขึ้นระหว
Attachment:::
 
name:
29 Jan 15
  จังหวัดอ่างทอง...28 มกราคม 2558 นายวีระศักดิ์ ประภาวัฒน์เวช รอง ผวจ.อ่างทอง เป็นประธานการจัดงานรวมใจอาสาพัฒนาชุมชน "พลิกฟื้น เพิ่มพลังอาสา จ.อ่างทอง" เนื่องในวาระครบรอบปีที่ 46 ผู้นำ อช. โดยมีนายอัศวิน หนูจ้อย พัฒนาการจังหวัดอ่างทอง กล่าวรายงาน ทั้งนี้กิจ
Attachment:::
 
name:
29 Jan 15
  จังหวัดอ่างทอง...27 มกราคม 2558 นางคำแข ธรรมนิยาย ผู้ตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชน ตรวจติดตามงานและมอบแนวทางการปฎิบัติงานแก่ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนจังหวัดอ่างทอง ในประเด็นตรวจราชการ เดือนมกราคม 2558 โดยมีนายอัศวิน หนูจ้อย พัฒนาการจังหวัดอ่างทอง ให้
Attachment:::
 

Friday, 23 January 2015

Community basic manual..In my dream..


คู่มือชุมชน ต้อนรับผู้มาเยือน
สวัสดีค่ะ/ครับ
ข้าพเจ้าชื่อว่า..............
ตำแหน่งหน้าที่...................
ข้าพเจ้ามีหน้าที่ดูแลและอำนวยความสะดวกท่านในการมาเยือนครั้งนี้
ในศูนย์/จังหวัด/อำเภอ/ตำบล/หมู่บ้าน .......................................แห่งนี้
หากท่านต้องการให้แก้ไขข้อสงสัยหรือุปสรรคใด ในการมาเยือนสถานที่แห่งนี้



เชิญ ท่าน เข้าพัก ที่ ห้องรับรอง/ห้องประชุม/เรือนพักรับรอง
เพื่อ รับประทานอาหาร/เพื่อรับชมการถ่ายทอดวีดีทัศน์/การนำเสนอ/การรายงาน ความเป็นมา / ภูมิหลัง/
ของโครงการ ได้แก่ ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน / กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต/กลุ่มกองทุนแม่ของแผ่นดิน/ศูนย์สารสนเทศชุมชน /ศูนย์ผลิตภัณฑ์ชุมชน


ในการศึกษาดูงานครั้งนี้  มีระเบียบข้อบังคับตามคู่มือ ที่ท่านได้รับ พร้อมกับ /สมุดเยี่ยม/ตั๋ว/บัตรสมาชิก/ศึกษาดูงานฟรี ค่าใช้จ่ายโดยองค์กร ที่นำชม /มีค่าใช้จ่าย ค่า วิทยากร/ค่าอาหาร/ค่าเครื่องดื่ม/ค่าที่พัก

ค่าใช้จ่ายที่ท่านจ่าย นำเข้าสู่กองทุนกลุ่มออมทรัพย์ของหมู่บ้าน เพื่อนำไปลงทุน ปรับปรุงสถานที่ศึกษาดูงาน/จ้างลูกจ้างในการจ้างใช้สอยทั่วไป/จ้างช่างทำสวน/จ้างช่างดูแลรักษาระบบไฟ น้ำ /เครื่องอุปโภคบริโภค/จ้างบุคลากร / ค่ารถรางนำเที่ยว/ค่าเรือนำเที่ยว/ค่าจ้างลูกจ้างประจำ/ลูกจ้างชั่วคราว


วิทยากร
สวัสดี ท่านผู้มาเยือน
แนะนำตัว
ในวันนี้ ข้าพเจ้า ได้นำเสนอ ความเป็นมา/ การดำเนินงาน/วัตถุประสงค์ /ประโยชน์ที่ชุมชนได้รับ/ความรู้ที่เป็นประเด็นแลกเปลี่ยน/การแบ่งปันความรู้
โดยข้าพเจ้ามีประเด็นนำเสนอโดยใช้ แผ่นกระดาษ/แผนภูมิ/แผ่นภาพ/เครื่องฉายภาพนิ่ง/วีดีทัศน์
โดยใช้เวลา 10/15/20 นาที
ท้ายสุดนี้ ท่านมีข้อซักถามใด ที่ต้องการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วมกัน
โปรดซักถามได้ตลอดเวลาที่ทำการบรรยาย/โปรดซักถามเมื่อจบการบรรยายแล้ว

โปรดสอบถาม ได้จำนวน 3 /5/10 คำถามที่สำคัญ
โดยให้เวลาข้อคำถามและตอบข้อละ 2/5/10 นาที
ขอบคุณ ท่านที่ถามปัญหา/ข้อคิดเห็น ในประเด็น.............นี้
เป็นข้อคำถามที่น่าสนใจและมีความสำคัญมาก  ขอขอบคุณที่ท่านให้ความสำคัญในประเด็นนี้
ข้อคำถามนี้ เกี่ยวกับ การดำเนินขององค์กร ภาครัฐ/ภาคเอกชน ที่ดำเนินการเกี่ยวข้องกับองค์กรของเรา
เราขอนำข้อคำถามและข้อคิดเห็นไปหารือ/ประสานกับองค์กรที่เกี่ยวข้อง
เพื่อแจ้งให้ท่านทราบ ในส่วนที่ที่เกี่ยวข้องในภารกิจ ของเรา ภายในเวลา 3 /5 /10/ วัน /สักระยะเวลาหนึ่ง

เมื่อท่านหมดข้อซักถาม/ข้อหารือ แล้ว
ขอเชิญท่านเข้าเยี่ยมชมกิจการ/การดำเนินงาน/กระบวนการ/การบริหารจัดการองค์กร  ของเรา ในสถานที่ต่อไปนี้
บ้านพักชุมชน/ศูนย์สาธารณสุขชุมชน / ศูนย์แพทย์แผนไทย/โรงงาน/สถานประกอบการ

สถานที่แห่งนี้ ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ของอาคารดังต่อไปนี้/ตามแผนผัง/แผนที่
ท่านสามารถใช้ แผ่นพับ/หนังสือคู่มือ/แถบเสียง/เครื่องถ่ายทอดวีดีทัศน์/อัตโนมัติ โดยเดินไปตามจุด ศึกษาดูงานแต่ละจุด ตามลำดับ ดังนี้  จุดดูงานจุดที่ 1…ห้องโถงใหญ่…….2…ห้องจัดแสดงนิทรรศการ  3. ห้องแสดงสื่อ แสง สี เสียง 4. ห้องประวัติศาสตร์/ความเป็นมา/ความรู้/ภูมิปัญญา ประจำชุมชน/พิพิธภัณฑ์ชุมชน 5.ห้องแสดงการก่อตั้ง/องค์กรที่เกี่ยวข้องห้องผู้เป็นเกี่ยรติ/ห้องผู้มีอุปการคุณภาครัฐ /เอกชน//แสดงผู้ที่บริจาคและมอบทรัพย์ เพื่อใช้ในทางสาธารณประโยชน์เพื่อชุมชน  6.ห้องพักรับประทานของว่าง/เครื่องดื่ม/ขนมขบเคี้ยว/ /ห้องซื้อสินค้าที่ระลึก /ผลิตภัณฑ์ชุมชน  7. ห้องน้ำ /ห้องพักนอน 8. ห้องปฐมพยาบาล 9.ห้องสรุปการเยี่ยม/ห้องประเมิน

ท่านและคณะ ได้ ศึกษาดูงาน ในพื้นที่ของเรา เป็นเวลาทั้งหมด 1/3/5/10 วัน ขอขอบคุณที่ท่านมาพัก/มาเยี่ยมขม/มาแลกเปลี่ยน/เรียนรู้/ให้ข้อคิดเห็น ที่เป็นประโยชน์ แก่ชุมชนของเรา
ท้ายสุดนี้ ขอให้ท่าน  ได้โปรด ประเมิน/ให้ข้อคิดเห็น/ติชม การดำเนินงานของเรา โดย บันทึกไว้ ในแบบประเมิน/สมุดเยี่ยม
เพื่อที่ สถานประกอบการของเรา/กลุ่มอาชีพ/กลุ่มสตรี/กลุ่มออมทรัพย์/กลุ่มเยาวชน  จะได้มีการบริหารจัดการ กลุ่ม/คณะ/ผู้ประกอบการ/โรงงานชุมชน/จะได้มีการแก้ไขปรับปรุง ในส่วนที่ นำชม/ต้อนรับ เป็นความบกพร่อง ให้ดีขึ้น

เพื่อกลุ่มของเรา จะได้มีโอกาส ต้อนรับ/การมาเยือน ของกลุ่ม/คณะผู้มาเยือน ในโอกาสต่อไป

การเดินทางไปยังจุดชมวิว/จุดท่องเที่ยว/ในชุมชนของเรา มีจุดพัก โดยมี มัคคุเทศส์ ที่ได้รับการฝึกอบรม ภาษา ของท่าน มาแล้ว
ขอแนะนำ มัคคุเทศก์ ชื่อ....................อายุ...............
มัคคุเทศก์ น้อย ที่อายุเป็นผู้เยาว์/เยาวชน นำท่านชมสถานที่ ได้เฉพาะในพื้นที่ที่มีผู้ปกครอง/เจ้าหน้าที่ ของผู้เยาว์ อยู่ในความดูแล ได้ทั่วถึง เท่านั้น

มัคคุเทศก์มืออาชีพ หรือบุคคลที่ชำนาญเส้นทางอื่นๆ ต้องอยู่ภายในการกำกับดูแล ของเจ้าพนักงานปกครอง/ตำรวจ/อาสาสมัคร/รักษาความปลอดภัยท้องถิ่น ที่อยู่ภายใต้การกำกับของ กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน/ นายกเทศมนตรี /นายอำเภอ /ผู้ว่าราชการจังหวัด

การศึกษาดูงานที่นอกเหนือ จากกำหนดการ ที่ทางชุมชน จัดเตรียมให้ท่าน ขอให้ท่าน แจ้ง ผู้ประสานงานของท่าน ให้ประสานข้อมูล กับ ฝ่ายความมั่นคง และอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่นศูนย์ข้อมูลการท่องเที่ยวของภาครัฐ หรือที่ภาครัฐ ให้การรับรองเป็นต้น

www.apn-gcr.org/2014/12/22/apn-funded-project-releases-trainer-manual-for-community-forest-biomass-monitoring/

APN Funded Project Releases Trainer Manual for Community Forest Biomass Monitoring

APN project “Participatory Approaches to Forest Carbon Accounting to Mitigate Climate Change, Conserve Biodiversity and Promote Sustainable Development” paved the way to the development of a new publication,Community based forest biomass monitoring: A manual for training local level facilitators.
cover_CBFBM Manual
The publication guides the training-of-trainers to build the capacity of the local level facilitators on selecting, testing and adapting the technical parameters and measurement methods for forest monitoring, and on designing an effective field training. It also serves as a reference material for forest community organisers to practice effective facilitation skills that are essential for any participatory methodology with local communities.

Community Tourism Development Manual

Cynthia C. Messer; 3rd Edition
Copyright © 2010 Regents of the University of Minnesota. All rights reserved.


Note: This is a Web Sampler. Information about the complete publication and how to order it is available here.

In the past several decades, tourism has evolved as a major economic development priority for many communities. Increasing consumer demand for educational and participatory travel experiences has resulted in a variety of specialty niche markets such as nature-based tourism, cultural-heritage tourism, and agritourism. Today, more and more communities seek to link strategic tourism planning with sustainable development. To address these trends and needs, the University of Minnesota Tourism Center developed Community Tourism Development.
http://www.extension.umn.edu/community/tourism-development/materials/development-manual/

http://www.apa.org/international/pi/2012/06/cuba.aspx

Overview of psychology in Cuba

APA’s delegation with Cuban colleagues from the Ministry of Health (MINSAP), The Cuban Society of Psychologists, and the National Health Psychology Group of MINSAPThere are 1,700 psychologists and 800 psychology technicians in Cuba's health care system. All psychological services are delivered in health and community settings, and psychology is integrated in the Ministry of Public Health. Their system is based on a biopsychosocial concept of care, with a health and prevention focus. The policlinico staffs work to modify risk factors in communities. Health teams are multidisciplinary. Psychology training for practice is now focused on increasing competencies throughout all levels. All research at CIPS is done at the request of the government and is multidisciplinary; psychologists study family, religion, learning, I/O processes, social health, work, youth, and creativity and education. A variety of institutions within the National Health System collectively support the development of neuropsychology research and applications. For example, the Institute of Science and Technology Ministry's Cuban Neuroscience Center (CNEURO) is dedicated to conducting research that improves the quality of life. This research includes developing image processing toolboxes for medical applications, such as the development of neuroformatics, neuroimaging, neurostatistics and, most recently, neurofeedback as a form of treatment for epilepsy.



Tuesday, 20 January 2015

Bahasa Indonesia and future...we need to communicate for easy connect with ASEAN...Austro-Asiatic languages too..



คุยกันรู้เรื่องเข้าใจเหมือนกัน เพราะรากภาษา เรามาใกล้ๆกัน รีบเร่งพูดกันสื่อสารกันเข้าใจนะ ใกล้เป็นประชาคมใหญ่ของโลกกันแล้ว รวมกันเป็นหนึ่งประชาคมอาเซียน รวมข้อต่อรองเจรจาเป็นหนึ่งเดียว และมีผลประดยชน์ทาง เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ร่วมกัน Welcome ASEAN..

















































































ภาษาราชการของประเทศเวียดนาม จัดอยู่ในภาษากลุ่มออสโตรเอเชียติก ตระกูลเดียวกับภาษามอญ-เขมร ถ้าน้องๆ อยากไปเที่ยวหรือเรียนต่อที่เวียดนาม ฝึกภาษาเวียดนามไว้บ้างก็ดีค่ะ ไม่อย่างนั้นจะสื่อสารกันค่อนข้างลำบากเพราะคนเวียดนามส่วนน้อยที่ใช้ภาษาอังกฤษคล่อง อีกเหตุผลนึงที่ภาษานี้น่าเรียน เพราะในยุคหลังๆ ทั้งเรื่องการศึกษา เทคโนโลยีของเวียดนามเขาพัฒนาได้ไวมาก ไม่แน่ว่าในอนาคตต่อๆ ไปประเทศเวียดนามอาจเจริญล้ำหน้าและเป็นแหล่งที่น่าเข้าไปลงทุนในระดับทวีปก็ได้
ภาษาเวียดนาม ได้รับอิทธิพลจากจีนค่อนข้างมากเพราะเคยอยู่ภายใต้การปกครองของจีน ทำให้มีคำศัพท์ที่ยืมจากภาษาจีนและแต่ก่อนก็ใช้อักษรจีนเขียนอีกด้วย หลังจากนั้นในยุคอาณานิคม เวียดนามได้รับอิทธิพลจากภาษาฝรั่งเศส จึงมีการพัฒนามาเป็นตัวอักษรแบบโรมันอย่างทุกวันนี้ นอกจากนี้ความพิเศษของภาษาเวียดนามอีกอย่างคือ เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ (คล้ายกับภาษาไทย) ในภาษาพูด ชาวเวียดนามแต่ละภูมิภาคออกเสียงวรรณยุกต์ต่างกันด้วยคือ ภาคเหนือจะออกครบทั้ง 6 เสียง แต่ภาคใต้ออกเพียง 5 เสียงและยังมีสำเนียงท้องถิ่นอีกด้วย ฟังแค่นี้ก็น่าสนสนุกแล้วใช่มั้ยล่ะคะ
ส่วนเรื่องไวยากรณ์ ภาษานี้จะเรียงลำดับประโยคเป็น ประธาน กริยา กรรม คล้ายกับภาษาไทย เน้นการเรียงลำดับคำและโครงสร้างประโยคมากกว่าการผันคำ หมายความว่าถ้าจะสร้างประโยคใหม่จะใช้วิธีเพิ่มคำ ไม่ต้องผัน Tense อย่างภาษาอังกฤษ
ลองมาดูคำศัพท์ง่ายๆ ของ ภาษาอาเซียนสำคัญ ภาษาเวียดนามกัน
3 ภาษาอาเซียนสำคัญ ห้ามพ
ภาษาอาเซียนสำคัญ ภาษามลายู
ภาษามลายู เป็นภาษาที่หลายประเทศในอาเซียนใช้เป็นภาษาราชการ เช่น ประเทศมาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย บางส่วนของประเทศสิงคโปร์ หรือแม้แต่ทางภาคใต้ของไทยก็มีการใช้ภาษานี้ด้วย ซึ่งแต่ละพื้นที่รับภาษาไปใช้แล้วก็มีการปรับเปลี่ยนหรือเรียกชื่อให้แตกต่างกันไป เช่น ภาษามลายูในมาเลเซียจะเรียกว่าภาษามาเลยเซีย บรูไนเรียกว่าภาษามลายู เป็นต้น
ภาษามลายูเป็นภาษากลุ่มออสโตรนีเชียน จัดอยู่ในรูปภาษาคำติดต่อ ถ้าต้องการสร้างคำใหม่ สามารถสร้างได้ 3 วิธี คือ
การลงวิภัติปัจจัยที่รากศัพท์ เนื่องจากภาษามลายูเป็นภาษาที่มีรากคำ การสร้างคำใหม่จึงอาศัยเติมคำข้างหน้า เติมกลางคำ หรือเติมหลังคำ
สร้างคำประสม
ซ้ำคำ
สำหรับตัวอักษรนั้น ภาษามลายูใช้ตัวอักษร 2 ชนิด คือ อักษรยาวี กับตัวอักษรรูมี(ตัวอักษรโรมัน) แต่ในปัจจุบันอักษรรูมีเป็นที่นิยมกว่ามาก เพราะเขียนง่าย เนื่องจากเป็นตัวอักษรโรมันหรือภาษาอังกฤษนั่นเอง ทำให้ไม่ต้องเสียเวลาเรียนตัวอักษรใหม่เหมือนการเรียนภาษาอื่นๆ

ลองมาดูคำศัพท์ง่ายๆ ใน ภาษาอาเซียนสำคัญ ภาษามลายูกัน
3 ภาษาอาเซียนสำคัญ ห้ามพ
ภาษาอาเซียนสำคัญ ภาษาอินโดนีเซีย
ภาษาอินโดนีเซียมีรากฐานมาจากภาษามลายูเหมือนภาษามาเลเซีย ถ้าน้องๆ รู้ภาษาใดภาษาหนึ่งก็สามารถไปใช้สื่อสารในอีกประเทศหนึ่งได้ เพราะภาษาใกล้เคียงกัน หากไม่เข้าใจบางคำศัพท์ก็ยังพอเดาความหมายได้ ซึ่งตรงนี้ก็มีคนถามกันเยอะทีเดียวว่าแล้วอย่างนี้ควรเรียนภาษาอะไรดีระหว่าง “ภาษาอินโดนีเซีย” กับ “ภาษามาเลย์”
สองภาษานี้แม้จะสื่อสารกันเข้าใจ แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าทุกอย่างจะเหมือนกันทั้งหมดนะคะ สิ่งที่ต่างกันจะเป็นเรื่องของสำเนียงและคำศัพท์บางคำ ทั้งนี้ภาษาอินโดนีเซียมีคำยืมที่มาจากภาษาต่างๆ อีกจำนวนมาก เช่น ภาษาดัตซ์ ภาษาโปรตุเกส ภาษาบาลี สันสกฤต ฯลฯ แต่จะออกเสียงยากกว่าภาษามาเลย์ และสิ่งที่ได้เปรียบกว่าของภาษาอินโดนีเซียคือ เป็นภาษาที่มีคนใช้มากที่สุดในอาเซียนราว 200 กว่าล้านคนค่ะ ดังนั้นถ้าน้องๆ อยากเรียนภาษาที่ใช้เพื่อสื่อสารกับคนในอาเซียนได้มากที่สุด ภาษาอินโดนีเซียตอบโจทย์ได้มากที่สุด (ใช้สื่อสารได้ทั้งประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ บรูไน)
ลองมาดูคำศัพท์ง่ายๆ ใน ภาษาอาเซียนสำคัญ ภาษาอินโดนีเซียกัน
3 ภาษาอาเซียนสำคัญ ห้ามพ
แถมอีกนิดด้วย คำศัพท์ตัวเลข 0-10 จาก 3 ภาษานี้
คำศัพท์พื้นฐานเรื่องตัวเลขในภาษาอินโดนีเซียกับภาษามลายูแทบจะเหมือนกัน 100% เลยนะเนี่ย เป็นยังไงบ้างคะน้องๆ เริ่มสนใจภาษาในอาเซียนบ้างหรือยัง? เดาเอาว่าเริ่มต้นคงไม่ยากเพราะใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษ^^ ถ้ามีเวลาก็จะแวะไปหาหนังสืออ่านเพิ่มบ้างแล้ว
3 ภาษาอาเซียนสำคัญ ห้ามพ
นอกจากภาษาเวียดนาม ภาษามลายู และภาษาอินโดนีเซียแล้ว อาเซียนของเรายังมีอีกหลายภาษาเลยนะคะ เช่น ภาษาเขมร ภาษาลาว ภาษาพม่า ภาษาตากาล็อก(ฟิลิปปินส์) ไว้มีโอกาสก็ลองศึกษาภาษาเพื่อนบ้านดูบ้างนะ หรือถ้าน้องๆ คนไหนที่เรียนภาษาอาเซียนอยู่ก่อนแล้วลองแนะนำเพื่อนๆ หน่อยว่าภาษาไหนง่าย ภาษาไหนยาก เชื่อว่ามีเพื่อนๆ รอเก็บข้อมูลอยู่เพียบ
ภาษาอาเซียน
ภาษาราชการของประเทศเวียดนาม จัดอยู่ในภาษากลุ่มออสโตรเอเชียติก ตระกูลเดียวกับภาษามอญ-เขมร ถ้าน้องๆ อยากไปเที่ยวหรือเรียนต่อที่เวียดนาม ฝึกภาษาเวียดนามไว้บ้างก็ดีค่ะ ไม่อย่างนั้นจะสื่อสารกันค่อนข้างลำบากเพราะคนเวียดนามส่วนน้อยที่ใช้ภาษาอังกฤษคล่อง อีกเหตุผลนึงที่ภาษานี้น่าเรียน เพราะในยุคหลังๆ ทั้งเรื่องการศึกษา เทคโนโลยีของเวียดนามเขาพัฒนาได้ไวมาก ไม่แน่ว่าในอนาคตต่อๆ ไปประเทศเวียดนามอาจเจริญล้ำหน้าและเป็นแหล่งที่น่าเข้าไปลงทุนในระดับทวีปก็ได้
ภาษาเวียดนาม ได้รับอิทธิพลจากจีนค่อนข้างมากเพราะเคยอยู่ภายใต้การปกครองของจีน ทำให้มีคำศัพท์ที่ยืมจากภาษาจีนและแต่ก่อนก็ใช้อักษรจีนเขียนอีกด้วย หลังจากนั้นในยุคอาณานิคม เวียดนามได้รับอิทธิพลจากภาษาฝรั่งเศส จึงมีการพัฒนามาเป็นตัวอักษรแบบโรมันอย่างทุกวันนี้ นอกจากนี้ความพิเศษของภาษาเวียดนามอีกอย่างคือ เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ (คล้ายกับภาษาไทย) ในภาษาพูด ชาวเวียดนามแต่ละภูมิภาคออกเสียงวรรณยุกต์ต่างกันด้วยคือ ภาคเหนือจะออกครบทั้ง 6 เสียง แต่ภาคใต้ออกเพียง 5 เสียงและยังมีสำเนียงท้องถิ่นอีกด้วย ฟังแค่นี้ก็น่าสนสนุกแล้วใช่มั้ยล่ะคะ
ส่วนเรื่องไวยากรณ์ ภาษานี้จะเรียงลำดับประโยคเป็น ประธาน กริยา กรรม คล้ายกับภาษาไทย เน้นการเรียงลำดับคำและโครงสร้างประโยคมากกว่าการผันคำ หมายความว่าถ้าจะสร้างประโยคใหม่จะใช้วิธีเพิ่มคำ ไม่ต้องผัน Tense อย่างภาษาอังกฤษ
ลองมาดูคำศัพท์ง่ายๆ ของ ภาษาอาเซียนสำคัญ ภาษาเวียดนามกัน
3 ภาษาอาเซียนสำคัญ ห้ามพ
ภาษาอาเซียนสำคัญ ภาษามลายู
ภาษามลายู เป็นภาษาที่หลายประเทศในอาเซียนใช้เป็นภาษาราชการ เช่น ประเทศมาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย บางส่วนของประเทศสิงคโปร์ หรือแม้แต่ทางภาคใต้ของไทยก็มีการใช้ภาษานี้ด้วย ซึ่งแต่ละพื้นที่รับภาษาไปใช้แล้วก็มีการปรับเปลี่ยนหรือเรียกชื่อให้แตกต่างกันไป เช่น ภาษามลายูในมาเลเซียจะเรียกว่าภาษามาเลยเซีย บรูไนเรียกว่าภาษามลายู เป็นต้น
ภาษามลายูเป็นภาษากลุ่มออสโตรนีเชียน จัดอยู่ในรูปภาษาคำติดต่อ ถ้าต้องการสร้างคำใหม่ สามารถสร้างได้ 3 วิธี คือ
การลงวิภัติปัจจัยที่รากศัพท์ เนื่องจากภาษามลายูเป็นภาษาที่มีรากคำ การสร้างคำใหม่จึงอาศัยเติมคำข้างหน้า เติมกลางคำ หรือเติมหลังคำ
สร้างคำประสม
ซ้ำคำ
สำหรับตัวอักษรนั้น ภาษามลายูใช้ตัวอักษร 2 ชนิด คือ อักษรยาวี กับตัวอักษรรูมี(ตัวอักษรโรมัน) แต่ในปัจจุบันอักษรรูมีเป็นที่นิยมกว่ามาก เพราะเขียนง่าย เนื่องจากเป็นตัวอักษรโรมันหรือภาษาอังกฤษนั่นเอง ทำให้ไม่ต้องเสียเวลาเรียนตัวอักษรใหม่เหมือนการเรียนภาษาอื่นๆ

ลองมาดูคำศัพท์ง่ายๆ ใน ภาษาอาเซียนสำคัญ ภาษามลายูกัน
3 ภาษาอาเซียนสำคัญ ห้ามพ
ภาษาอาเซียนสำคัญ ภาษาอินโดนีเซีย
ภาษาอินโดนีเซียมีรากฐานมาจากภาษามลายูเหมือนภาษามาเลเซีย ถ้าน้องๆ รู้ภาษาใดภาษาหนึ่งก็สามารถไปใช้สื่อสารในอีกประเทศหนึ่งได้ เพราะภาษาใกล้เคียงกัน หากไม่เข้าใจบางคำศัพท์ก็ยังพอเดาความหมายได้ ซึ่งตรงนี้ก็มีคนถามกันเยอะทีเดียวว่าแล้วอย่างนี้ควรเรียนภาษาอะไรดีระหว่าง “ภาษาอินโดนีเซีย” กับ “ภาษามาเลย์”
สองภาษานี้แม้จะสื่อสารกันเข้าใจ แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าทุกอย่างจะเหมือนกันทั้งหมดนะคะ สิ่งที่ต่างกันจะเป็นเรื่องของสำเนียงและคำศัพท์บางคำ ทั้งนี้ภาษาอินโดนีเซียมีคำยืมที่มาจากภาษาต่างๆ อีกจำนวนมาก เช่น ภาษาดัตซ์ ภาษาโปรตุเกส ภาษาบาลี สันสกฤต ฯลฯ แต่จะออกเสียงยากกว่าภาษามาเลย์ และสิ่งที่ได้เปรียบกว่าของภาษาอินโดนีเซียคือ เป็นภาษาที่มีคนใช้มากที่สุดในอาเซียนราว 200 กว่าล้านคนค่ะ ดังนั้นถ้าน้องๆ อยากเรียนภาษาที่ใช้เพื่อสื่อสารกับคนในอาเซียนได้มากที่สุด ภาษาอินโดนีเซียตอบโจทย์ได้มากที่สุด (ใช้สื่อสารได้ทั้งประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ บรูไน)
ลองมาดูคำศัพท์ง่ายๆ ใน ภาษาอาเซียนสำคัญ ภาษาอินโดนีเซียกัน
3 ภาษาอาเซียนสำคัญ ห้ามพ
แถมอีกนิดด้วย คำศัพท์ตัวเลข 0-10 จาก 3 ภาษานี้
คำศัพท์พื้นฐานเรื่องตัวเลขในภาษาอินโดนีเซียกับภาษามลายูแทบจะเหมือนกัน 100% เลยนะเนี่ย เป็นยังไงบ้างคะน้องๆ เริ่มสนใจภาษาในอาเซียนบ้างหรือยัง? เดาเอาว่าเริ่มต้นคงไม่ยากเพราะใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษ^^ ถ้ามีเวลาก็จะแวะไปหาหนังสืออ่านเพิ่มบ้างแล้ว
3 ภาษาอาเซียนสำคัญ ห้ามพ
นอกจากภาษาเวียดนาม ภาษามลายู และภาษาอินโดนีเซียแล้ว อาเซียนของเรายังมีอีกหลายภาษาเลยนะคะ เช่น ภาษาเขมร ภาษาลาว ภาษาพม่า ภาษาตากาล็อก(ฟิลิปปินส์) ไว้มีโอกาสก็ลองศึกษาภาษาเพื่อนบ้านดูบ้างนะ หรือถ้าน้องๆ คนไหนที่เรียนภาษาอาเซียนอยู่ก่อนแล้วลองแนะนำเพื่อนๆ หน่อยว่าภาษาไหนง่าย ภาษาไหนยาก เชื่อว่ามีเพื่อนๆ รอเก็บข้อมูลอยู่เพียบ
ภาษาอาเซียน
เรียบเรียงโดย KERO uAsean.com
เนื้อหาอ้างอิงจาก mthai

ขอขอบคุณแหล่งที่มา : 3 ภาษาอาเซียนสำคัญ ห้ามพลาด
เรียบเรียงโดย KERO uAsean.com
เนื้อหาอ้างอิงจาก mthai

ขอขอบคุณแหล่งที่มา : 3 ภาษาอาเซียนสำคัญ ห้ามพลาด

http://www.languagesgulper.com/eng/Austromap.html

http://thai-aec.in.th/?p=64356

PINJAMAN
Indonesia: Komitmen berdasarkan Tahun Fiskal (dalam jutaan dolar)*
2,3933,2511,7661,2821,00011121314150k2k4k
*Jumlah termasuk komitmen IBRD dan IDA

Überblick

Alle wichtigen Strukturdaten zu Landesübersicht und Naturraum
Offizieller Name:Sozialistische Republik Vietnam
Fläche:329.560 km²
Einwohner:87,84 Mio.
Bevölkerungswachstum1,08 % pro Jahr 
Regierungssitz:Hanoi
Klima (für Hauptstadt):subtropisch

http://liportal.giz.de/vietnam/ueberblick/


http://www.worldbank.org/in/country/indonesia/overview



Indonesia continues to post significant economic growth. The country’s gross national income per capita has steadily risen from $2,200 in the year 2000 to $3,563 in 2012.
In terms of macroeconomic stability, Indonesia has managed to fulfill many of its fiscal targets, including a significant drop in Debt-to-GDP ratio from 61 percent in 2003 to 26 percent in 2013.
Indonesia has formulated a long-term development plan which spans from 2005 to 2025. It is segmented into 5-year medium-term plans, each with different development priorities. The current medium-term development plan covering 2009-2014 is the second phase and focuses on:
  • promoting quality of human resources
  • development of science and technology
  • strengthening economic competitiveness.
However, considerable challenges remain.










Thursday, 15 January 2015

North and cold with Pretties..And wut s about your information you need for communicate with ASEAN Handbook?




North and cold with Pretties..And wut s about your information you need for communicate with ASEAN Handbook?













































http://www.deviantart.com/morelikethis/artists/308493294?view_mode=2
https://play.google.com/store/apps/details?id=com.easyasean.androidhttps://play.google.com/store/apps/details?id=com.easyasean.android

14 Jan 15 ((นครราชสีมา))สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด โดยกลุ่มงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชน ร่วมกับสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอโนนสูง จัดประชุม "โครงการพัฒนาหมู่บ้านสารสนเทศต้นแบบเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต" ระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2558 ณ บ้านโนนวัด หมู [Announcement

15 Jan 15 -มุกดาหาร-14 ม.ค.2558 ณ สนามหน้าศาลากลางจังหวัดมุกดาหาร พช.มุกดาหาร โดยนายกานต์ ธงศรี พจ.มุกดาหาร ได้รับมอบหมายจาก ผวจ.มุกดาหาร ให้เป็นฝ่ายเลขานุการ จัดกิจกรรมงานเดินแบบผ้าไหมและผ้าพื้นเมืองในงานกาชาดและงานของดีจังหวัดมุกดาหาร ปี 2558 [Announcement]
            
-มุกดาหาร-14 ม.ค.2558 ณ สนามหน้าศาลากลางจังหวัดมุกดาหาร พช.มุกดาหาร โดยนายกานต์ ธงศรี พจ.มุกดาหาร
ได้รับมอบหมายจาก ผวจ.มุกดาหาร ให้เป็นฝ่ายเลขานุการ
จัดกิจกรรมงานเดินแบบผ้าไหมและผ้าพื้นเมืองในงานกาชาดและงานของดีจังหวัดมุกดาหาร ปี 2558 

15 Jan 15 (((ปทุมธานี))) สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดปทุมธานี ร่วมจัดงานงานเทศกาลเที่ยวทั่วไทย โดยมีท่านรองผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี (นายวินชัย อุยางกูร) พร้อมด้วย นางสุนิสา บุณยาทิษฐาน พัฒนาการจังหวัดปทุมธานี ร่วมให้การต้อนรับผู้เข้ามาเยี่ยมชม ทั้งนี้ยั [Announcement]
            
สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดปทุมธานี ร่วมจัดงานงานเทศกาลเที่ยวทั่วไทย โดยมีท่านรองผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี (นายวินชัย อุยางกูร) พร้อมด้วย นางสุนิสา บุณยาทิษฐาน พัฒนาการจังหวัดปทุมธานี ร่วมให้การต้อนรับผู้เข้ามาเยี่ยมชม ทั้งนี้ยังได้รับเกียติจาก นายธวัชชัย อรัญญิก ประธานบอร์ด ททท. และคณะ เข้าเยี่ยมชมบูธของจังหวัดปทุมธานี ซึ่งมีการแสดงนิทรรศการย้อนรอยจังหวัดปทุมธานีตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน ณ สวนลุมพินี กทม. เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2558 

15 Jan 15 14 มกราคม 2558 นางชูสม รัตนนิตย์ รองผวจ.แพร่ เป็นประธานคณะกรรมการตัดสินการประกวดนางงามท้องถิ่น จ.แพร่ ในงานฤดูหนาว จ.แพร่ ปี 2558 ซึ่งสพจ.แพร่ ได้รับมอบหมายให้ดำเนินการจัดการประกวดดังกล่าว ณ บริเวณศูนย์ประชุมและแสดงศิลปวัฒนธรรมกลุ่มล้านนาตะวันออกและกลุ่ [Announcement]
            
14 มกราคม 2558 นางชูสม รัตนนิตย์ รองผวจ.แพร่ เป็นประธานคณะกรรมการตัดสินการประกวดนางงามท้องถิ่น จ.แพร่ ในงานฤดูหนาว จ.แพร่ ปี 2558 ซึ่งสพจ.แพร่ ได้รับมอบหมายให้ดำเนินการจัดการประกวดดังกล่าว ณ บริเวณศูนย์ประชุมและแสดงศิลปวัฒนธรรมกลุ่มล้านนาตะวันออกและกลุ่มประเทศ GMS บ้านกอเปา อ.เมืองแพร่ 

Total Pageviews

birdmydog - View my most interesting photos on Flickriver

Popular Posts

Translate

mobilizerthai's shared items

Popular Posts

Blog Archive

Search This Blog

wut do you favor on top in community future???

ding ding

About Me